Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง ซึ่งเด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ การขยับ แขนขา ล าตัวใบหน้า ลิ้น รวมถึงการทรงตัวที่ผิดปกติเด็กที่เป็ นโรคนี้มักมีปัญหาในการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อปัญหาการคุยเเละการกินเเละอาจจะมีปัญหาในการควบคุมลมหายใจเพื่อเปล่งเสียง จัดเด็กพิการ CP เป็ นภาวะพิการทางสมองชนิดหนึ่ง เด็กพิการซีพี ส่วนใหญ่สติปัญญาดี ไม่ปัญญาอ่อน ประมาณ 70-80% มีค่า IQ มากกว่า 70 บางรายมีการรับรู้ความรู้สึกที่ผิดปกติด้วย
สาเหตุ
ก่อนคลอด
มารดาเป็นโรคเเทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ ได้เเก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อ
ระหว่างคลอด /หลังคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด
สมองกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
คลอดยาก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหวได้4 ประเภท
Ataxic CP
กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ ทำให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้ หากเด็กมีอาการเก็บกดทางอารมณ์ หรือเมื่อเวลาตื่นเต้น กล้ามเนื้อจะยิ่งผิดปกติ
Athetoid CP
มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน ทำให้เด็กควบคุมสมดุลไม่ได้ทำให้โซเซเเละหกล้มได้ง่ายประมาณ 1 ใน 4 ของเด็กที่เป็น CP จะมีอาการเป็น Atheloid CP
Spastic CP
จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น ไม่สามารถหดตัวได้เหมือนกล้ามเนื้อปกติ มีลักษณะแข็งทื่อ
quadriplegia
หรือtotal body involvement พวกนี้มีinvolvement ของ
ทั้งแขนและขาทั้ง 2 ข้างเท่า ๆ กัน ส่วนใหญ่ของ cases พวกนี้มักจะมีneck หรือ cranial nerve involvement ด้วย
Diplegia
involved มากเฉพาะที่ขาทั้ง 2 ข้าง ในขณะที่เเขนทั้ง 2 ข้าง gross movement เกือบจะปกติดีมีเฉพาะส่วนของ fine movement เท่านั้นที่ถุก involved
Double hemiplegia
มีลักษณะของ hemiplegia ทั้ง 2 ข้างเพียงแต่ความรุนเเรงของเเต่ละข้างไม่เท่ากัน
Hemiplegia
คือพวกที่มี spasticity ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่งส่วนอีกข้างหนึ่งปกติ
ือื่นๆ
monoplegia, paraplegia, triplegia พบน้อยมาก โดยเฉพาะ paraplegia
Mixed CP
เป็ นการผสมผสานลักษณะทั้งสามคือเด็กคนเดียวอาจมีลักษณะที่ กล่าวมาแล้ว โดยประมาณกันว่า 1 ใน 4 ของคนที่เป็น CP จะมีลักษณะของการ ผสมผสานประเภทนี้
การรักษา
ลดความเกร็งโดยใช้ยา
ยากินกลุ่ม diazepam
ยาฉีด คือ Botox
ป้องกันการผิดรูปของข้อต่างๆ
-กายภาพบำบัด(Physical Therapy)
-อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)
การผ่าตัด
การย้ายเอ็น เพื่อความสมดุลของข้อ
การผ่าตัดกระดูก ในรายที่กระดูกกถูกดึงจนผิดรูปเเล้ว
การผ่าตัดลดความตึงตัวของกล้ามเนื้อโดยผ่าคลายเฉพาะกล้ามเนื้อที่ยึดตึง
การให้กำลังใจ
การรักษาด้านอื่นๆ
ใช้ยาควบคุมการชักรวมถึงัปญหาด้านจิตเวช
การใช้เครื่องช่วยฟัง
การผ่าตัดเเก้ไขตาเหล่ น้ำลายยืด
มะเร็งกระดูก(Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำเเหน่งที่เป็นผิดปกติรับน้ำหนักไม่ได้มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
น้ำหนักลด
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก ตำเเหน่งก้อน การเคลื่อนไหว ต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
ระยะเวลาการมีเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
การพยากรณ์โรค
ถ้าสามารถผ่าตัดออกไได้หมดจะมีการพยากรณ์ที่ดี
ถ้ามีการเเพร่กระจายของโรคจะเเพร่กระจายไม่ดี
ตำเเหน่งที่พยาการณ์ที่ดีที่สุด
ส่วนปลายของกระดูกต้นขวา
การรักษา
ตัดก้อนมะเร็งออกให้หมดเพื่อป้องกันการเเพร่กระจายของโรค
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเเทรกซ้อนของกระดูกที่ทำการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเเทรกซ้อนจากเคมีบำบัดเเละรังสีรักษา
ไม่สุขสบายจากการปวดเเผลเเละปวดหลอน (Phantompain)บริเวณแขน/ขาที่ถูกตัด
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรูืความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเเละการรักษาพยาบาล
Omphalocele
เป็นความผิดรูปเเต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยมีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป มีเเต่เพียงชั้นบางๆที่ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง Penitoeal และเยื่อamnion ประกอบกับผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุง ปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมาอยู่ออกนอกช่องท้อง เช่น ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหารเเละตับ
ลักษณะทางคลินิก
การตรวจก่อนคลอด การใช้อัลตราซาวน์ ตรวจทารกในครรภ์มารดา สามารถวินิจฉํยภาวะ omphaloceele ได้
ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุงomphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ขนาดเส้นผ่านศูนกลางระหว่าง 4 ซม.ขึ้นไปจนมากกว๋า 10 ซม. ตัวถุงเป็นรูปโดม ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายใน อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วย ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้ามเเละตับ
ทารกที่เป็น omphalocele พบในทารกเพศหญิงได้บ่อยกว่า ประมาณครึ่งหนึ่ง ของผู้ป่วยจะมีน้ำหนักตัวน้อย ประมาณร้อยละ 45-70 จะมีความผิดรูปอื่นร่วม
การรักษา
operative
(primary fascial closure)
มักจะท าเมื่อomphalocele มีขนาดเล็กเเละมีอวัยวะภายในไม่มาก
(staged repair)
conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution) เช่นTr.Mercurochrome, povidene solution หรือ topical antibacterial cream เช่น Silver Zinc Sulfadiazine ทาที่ผนังถุง การใชส้สารละลายฆ่าเชื้อหรือ cream ทาถุง มีผลทำให้หนังเเปรสภาพเป็น eschar ที่เหนียว ไม่เเตกง่าย ผลสุดท้ายจะคลุมได้สมบูรณ์เปลี่ยนสภาพเป็นumbilical hernia ซึ่งอาจจะต้องซ่อมเเซมเมื่อเด็กโตขึ้น หรือผนังหน้าท้องอาจเจริญมาปกคลุมได้ดี จนไม่ต้องกการซ่อมเเซม
เหมาะส าหรับในรายที่omphalocele มีขนาดใหญ่
Gastroschisis
การที่มีผนังหน้าท้องเเยกจากกัน
เป็ นความผิดปกติแต่ก าเนิดเกิดเป็ นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์เเล้ว เกิดการเเตกทะลุ ของ hernia of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่างๆกัน สามารถมองเห็นขดของลำไส้หรือตับผ่านผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุwharton’s jelly สายสะดือติดกับตัวถุง ขนาดที่พบ ตั้งเเต่ 4 –10 cm
การดูเเลรักษาพยาบาล
incubator หรือ ผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้antibiotic ได้ทันที
ตรวจระดับ น ้าตาล เกลือแร่ในกระแสเลือด
เจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมทำการจองเลือด เผื่อว่าต้องทำการให้เลือด
การดูเเลทั่วไป
การอาบนำ้ ไม่ต้องท าเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
decompression stomach
การค้นหาความพิการร่วม
การดูเเลเฉพาะ
การทำเเผล
สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
แนวทางการพยาบาล
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนที่ สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
อาจเกิดภาวะ Hypothermia เนื่องจากทารกส่วนใหญ่น้ำหนักน้อย หรือคลอดก่อนกำหนด เเละมีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดการสูญเสียสารเหลวที่ไม่สามารถทราบได้ ้(insensible loss) ซึ่ง จะนำไปสู่ปริมาตรเลือดต่ำ
อาจเกิดภาวะติดเชื้อของเเผลจากการที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดท้องอืด หรืออาเจียน เนื่องจากลมในกระเพาะอาหารเเละลำไส้
อาจเกิดการขาดสารน้ำเเละอิเลคโตรลัยท์ เนื่องจากงดอาหาร น้ำ เเละ จากการที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของบุตร
การดูเเลหลังผ่าตัด
Hypothermia
ต้องให้เด็กอยู่ในตู้อบ(incubator) ปรับอุณหภูมิตามตัวเด็ก
Hypoglycemia, Hypocalcemia
สังเกตว่าเด็กจะมี tremorcyanosis หรือ convulsion รายที่มี hypocalcemia อาจจะเกิด periodic apnea
Respiratory distress
ใส่ endotrachial tube เเละให้ muscle relaxant 1-2 วันหลังผ่าตัด
General care
จัดท่านอนหงาย
การขับถ่าย
สังเกตการหายใจ
ตรวจดูว่ามี discharge ออกมาจากเเผล
swab culture
Fluid and nutrition support
-ถ้าเป็ น omphalocele ให้IV fluid เป็ น 10%DN/5 เป็น maintenance บวกกับที่สูญเสียออกมาทาง OG tube
-ถ้าเป็ น gastroschisis มี I nsensible loss เฉลี่ยdaily requirment 200 ml./kg./day
Peripheral parenteral nutrition
เริ่มให้ได้ตั้งแต่เด็ก stable หลังผ่าตัด1 วัน เนื่องจากเด็กกลุ่มนี้จะมีการทำงานของลำไส้ผิดปกติ ดูดซึมสารอาหารยังไม่ดี รวมทั้งกรณีของ omphalocele ที่เราทายาที่sac เราต้องการให้พักลำไส้ ไม่ต้องการให้ความดันในช่องท้องสูงขึ้นด้วย
Antibiotic prophylaxis
ให้ ampicillin และ gentamicin ประมาณ5วัน ถ้าเด็กไม่มีปัญหา เเผลติดเชื้อ รับอาหารได้ดี
Wound care
ถ้าเป็น omphalocele ใหญให้ดูเเลทำความสะอาดเเผลกว่าจะเริ่มดีขึ้น พอให้ไปดูเเลต่อ gastroschisis ที่ใส่ silo ก็เช็ด silo เช้าเย็นทำเผลเช่นเดียวกับก่อนผ่าตัด ถ้าเป็นเเผลเย็บ ทำเเผลวันละครั้ง ดูการเปลี่ยนเเปลงของเเผล
การติดตามการรักษา
เด็กจะมีน้ำหนักน้อยกว่าปกติ เเต่จะกลับ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลหลังการผ่าตัด
อาจเกิดภาวะติดเชื้อหลังผ่าตัด
อาจเกิดภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการใช้เเรงกดถุงลำไส้ให้เคลื่อนเข้าช่องท้อง
อาจเกิดภาวะท้องอืดหรืออาเจียน เนื่องจากการที่ลำไส้บวมหรือมีการอุดตัน