Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน(Precipitate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน(Precipitate labor)
ความหมาย
กาคลอดเฉียบพลัน คือ การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 3 ชม. หรือใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดประมาณ 2-4 ชม. และมีการเปิดขยายของปากมดลูกในระยะปากมดลูกขยายเร็ว 5 ซม./ชม.ในผู้คลอดครรภ์แรก และมากกว่า 10 ซม./ชม.ในผู้คลอดครรภ์หลัง ซุ่งเป็นผลจากแรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่หนทางคลอดไม่ดี ความผิดปกติของมดลูกที่แรงมาก
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
5.เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
6.ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
4.ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
3.ผู้คลอดครรภ์หลัง เนื้อเยื่อต่างๆมีการยืดขยายมาก
7.ทารกตัวเล็กหรืออายุครรภ์น้อยกว่ากำหนด
2.การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
8.ผู้คลอดที่ไวต่อการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
1.แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
อาการและอาการแสดง
2.มดลูกมีการหดรัดตัวถี่และรุนแรง มากกว่า 5 ครั้งในเวลา 10 นาที
3.ตรวจภายในพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว
1.มีอาการเจ็บครรภ์เป็นอย่างมาก
การวินิจฉัย
2.อัตราการเปิดขยายของปากมดลูก
3.มีการหดรัดตัวของมดลูกที่ถี่และรุนแรง หดรัดตัวทุก 2 นาที และระยะเวลาของการหดรัดตัวของมดลูกนานมากกว่า 90 วินาที หรือไม่มีการคลายตัวในระยะพัก
1.ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า 3 ชม.
4.ความดันภายในโพรงมดลูกประมาณ 50-70 mmHg
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
4.อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
3.ตกเลือดหลังคลอด
5.มดลูกแตก
6.เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
2.มีการติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
7.อาจเกิดมดลูกปลิ้น
1.เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดฉีกขาด
ทารก
5.สายสะดือขาด
6.ถ้าคลอดออกมาทั้งถุงน้ำคร่ำ อาจสำลักน้ำคร่ำได้
4.ทารกได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากกระทบกระเทือนเพราะการช่วยคลอดไม่ทัน
7.ทารกอาจเกิดการติดเชื้อได้
3.อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
8.รกลอกตัวก่อนกำหนด
2.อาจมีความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป ทารกไม่สามารถยกมือได้
9.ถ้าให้การช่วยเหลือช้า ทารกอาจเกิดภาวะหนาวสั่น หรือการช่วยฟื้นคืนชีพช้าทำให้เสียชีวิต
1.เลือดออกในสมอง
การรักษา
2.การให้ยา
3.การผ่าตัดคลอด
1.ให้การดูแลตามอาการ
การประเมินสภาพ
2.การตรวจร่างกาย
ประเมินการหดรัดตัวมดลูก
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์
ตรวจภายใน
3.ภาวะจิตสังคม
1.การซักประวัติ
การพยาบาล
2.ดูแลตามอาการ
ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณฝีเย็บ
ในกรณีมารดาไม่สามารถหยุดเบ่ง และศีรษะทารกคลอดออกมาแล้ว ให้กางขามารดาออก
กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิกหายใจแบบตื้นๆเร็วๆเบาๆเข้าออกทางปากและจมูก
จับทารกให้นอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง และดูดน้ำคร่ำในปากและจมูกทารกออก
3.ระยะหลังคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
1.มารดาที่มีประวัติคลอดเร็ว
ประเมินการเปิดขยาย และความบางของปากมดลูกเมื่อมารดาอยากเบ่ง
พิจารณาย้ายมารดาเข้าห้องคลอด
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก
4.แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
3.ทารกอาจได้รับอันตรายจากการคลอดเฉียบพลัน
วัตถุประสงค์
ทารกไม่เกิดอันตรายจากการคลอดเฉียบพลัน
เกณฑ์การประเมินผล
ทารกไม่มีภาวะขาดออกซิเจน
FHS=110-160 ครั้ง/นาที
ทารกไม่ได้รับบาดเจ็บจากการช่วยคลอด ได้แก่ มีเลือดออกในสมอง มีภาวะ Erb's palsy และ Asphyxia
ข้อมูลสนับสนุน
O : มีภาวะการคลอดเฉียบพลันโดยที่ระยะเวลาการคลอดน้อยกว่า 3 ชม.
กิจกรรมการพยาบาล
3.ถ้าถุงน้ำยังไม่แตก และผู้คลอดเบ่งคลอดให้เจาะถุงน้ำคร่ำขณะที่มดลูกคลายตัว
4.ถ้าทารกคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก ไม่ควรจับต้องทารกมากเกินไป
2.ทำคลอดทารกโดยใช้หลักปราศจากเชื้อ
5.ใช้ลูกสูบยางแดงดูดเมือก และน้ำคร่ำออกจากปากและจมูกของทารก โดยจัดให้ทารกนอนต่ำกว่าศีรษะและลำตัว
1.จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำคลอดและช่วยฟื้นคืนชีพ
6.ประเมินคะแนน APGAR ใน 1 นาทีและ 5 นาที
7.เตรียมอุปกรณ์และให้การช่วยเหลือในการประเมินสภาพทารก
8.ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
4.อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดจากการคลอดเฉียบพลัน
วัตถุประสงค์
ไม่มีอาการตกเลือดในระยะหลังคลอด
เกณฑ์การประเมินผล
มดลูกหดรัดตัวกลมแข็ง
Blood loss ของการคลอดปกติ ไม่เกิน 500 ml และผ้าอนามัยเปื้อนเลือดไม่เกิน 1 ชิ้นชุ่ม/8 ชม.
BP มากกว่า 90/60 mmHg P 80-100 ครั้ง/นาที R 16-20 ครั้ง/นาที
ไม่มีอาการแสดงของอาการตกเลือด
ข้อมูลสนับสนุน
O : ปากมดลูกเปิด 5 ซม./ชม.ในครรภ์แรก และมากกว่า 10 ซม./ชม. ในครรภ์หลัง
O : มีเลือดออกทางช่องคลอด มากกว่า 100 มล./ชม.
O : ระยะเวลาในการคลอดใช้เวลาน้อยกว่า 3 ชม.
O : มดลูกนุ่ม อยู่ระดับสะดือ กระเพาะปัสสาวะเต็ม
กิจกรรมการพยาบาล
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
4.ตรวจสอบความสมบูรณ์ในการลอกตัวและการคลอดรก
2.สังเกตปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
5.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง ทุก 3-4 ชม.
1.สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
6.ตรวจสอบการฉีกขาดของช่องทางคลอด และทำการเย็บซ่อมแซม
2.เจ็บครรภ์มาก เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวแรงและถี่มาก
วัตถุประสงค์
ผู้คลอดสามารถเผชิญความเจ็บปวดได้อย่างเหมาะสม
เกณฑ์การประเมินผล
ลดอาการกระสับกระส่าย
เมื่อมดลูกหดรัดตัวสามารถใช้เทคนิคการหายใจและการผ่อนคลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามคำแนะนำในการเบ่งคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
O : ผู้คลอดมีอาการหน้านิ่วคิ้วขมวด กำมือแน่น กระสับกระส่าย บิดตัวไปมาเมื่อมดลูกหดรัดตัว
O : มดลูกมีการหดรัดตัว ทุก 2 นาที นาน 60 วินาที ความรุนแรง +3
S : ผู้คลอดบอกว่าเจ็บครรภ์มาก ทนไม่ไหวแล้ว
กิจกรรมการพยาบาล
3.จัดท่าให้มารดานอนตะแคงซ้าย
4.อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ และหมั่นดูอาการ
2.สอนเทคนิคการหายใจและการผ่อนคลาย
5.ดูแลความสะอาดของร่างกาย และจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาด
1.ช่วยนวดบริเวณหลังและต้นขา
6.ไม่ควรให้ยาบรรเทาปวด
5.วิคกกังวล/กลัวอันตรายที่จะเกิดขึ้น เนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
1.ช่องทางคลอดอ่อนมีโอกาสฉีกขาดมากผิดปกติ เนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
เกณฑ์การประเมินผล
แผลฝีเย็บฉีกขาดไม่เกินระดับ 2
กิจกรรมการพยาบาล
1.หยุดการให้ยา Oxytocin
2.กระตุ้นและควบคุมให้มารดาหายใจแบบตื้นๆเร็วๆเบาๆเข้าออกทางปากและจมูก
3.ไม่ทอดทิ้งผู้คลอดให้อยู่ตามลำพัง และพิจารณาการย้ายผู้คลอด
4.ประเมิน Probable sign
5.ประเมินความรู้และให้ข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับการคลอด
วัตถุประสงค์
ช่องทางคลอดอ่อนฉีกขาดในระดับปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
O : อัตราการเปิดขยายของปากมดลูกเปิดมากกว่า 5 ซม./ชม.ในครรภ์แรก และเปิดมากกว่า 10 ซม./ชม.
O : มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และรุนแรง
O : ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า 3 ชม.