Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตกเลือดหลังคลอด - Coggle Diagram
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
ชนิดของการตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก (Early or immediate postpartum hemorrhage)
สาเหตุ
การฉีกขาดของช่องทางคลอด (Trauma)
การตัดฝีเย็บที่ไม่ถูกวิธี
การคลอดเร็วผิดปกติ
มีปัญหาเชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกับขนาดของทารก
การทำคลอดและการช่วยคลอดที่ไม่ถูกต้อง
มดลูกบางกว่าปกติ
รกหรือเศษรกค้างภายในโพรงมดลูก (Tissue)
การมีรกค้าง
การมีเศษรกค้าง
ความผิดปกติของรก
การมีรกน้อย
การทำคลอดรกผิดวิธี
การหดรัดตัวของมดลูก (Tone)
การมดลูกหดรัดตัวไม่ดี (uterine atony)
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกเกาะต่ำ
การติดเชื้อของมดลูก
การคลอดยาก หรือ การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
มารดามีภาวะทุพโภชนาการ โลหิตจาง ความดันโลหิตสูง รวมทั้งมีประวัติการตกเลือดหรือประวัติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
การใช้ยาบางชนิด
การหดรัดตัวที่ไม่สม่ำเสมอของกล้ามเนื้อมดลูกบางชนิด
คลอดบุตรหลายครั้ง
Constriction ring
กล้ามเนื้อมดลูกมีการยืดขยายมากผิดปกติ
สาเหตุอื่นที่ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
การเจ็บครรภ์คลอดที่เนินนาน หรือ การคลอดเร็วเกินไป
4 ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (Thrombin)
ภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ โรคเลือดต่างๆ เช่น โลหิตจาง โรคเลือดที่เกิดจากการขาดเกล็ดเลือด
การวินิจฉัยการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
อาการและอาการแสดง
มดลูกปลิ้น
เกิดจากการที่มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
มีเศษรกค้าง
การฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยจะพุ่งแรงตามจังหวะของชีพร
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
การฉีกขาดของหนทางคลอด
เกิดเลือดคั่งที่เอ็นยึดมดลูก
อาการแสดงของภาวะตกเลือด
การมีเลือดออก
2.ตรวจดูชิ้นส่วนของรกที่อาจค้างอยู่
ตรวจรกที่คลอดแล้วอย่างละเอียด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Prothrombin time (PT) , Partail thromboplastic time (PTT) , Clottingtime , Platelet count
ผลจากการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
ใจสั่น ซีดลง ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำ ช็อก มีการขาดออกซิเจน เกิดภาวะอวัยวะล้มเหลว หรืออาจตายได้และภายหลังพบว่าอาจจะเกิด Anterior pituitary necrosisาให้การท างานของระบบ
ต่อมไร้ท่อเกิดความบกพร่องขึ้นาให้มีอาการไม่มีน้ำนมหลังคลอด เต้านมเหี่ยว ระดูขาดและขนของอวัยวะเพศร่วง อ่อนเพลียขาดความสนใจสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นกลุ่มอาการที่เรียกว่า Shechan’s Syndromes
การป้องกันการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
ระยะก่อนคลอด
การซักประวัติอย่างละเอียด
การตรวจร่างกาย
ระยะคลอด
ทำคลอดในระยะที่ 2 และระยะที่ 3 อย่างถูกต้องเหมาะสม
หลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก
ระวังการให้ยาแก้ปวดในขนาดที่มากเกินไป
ตรวจรกและช่องทางคลอดอย่างละเอียด
ดูแลไม่ให้เกิดการคลอดยาวนาน
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ในรายที่ได้รับยากระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์ อาจให้ Oxytocin ต่อภายหลัง การคลอดอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
กระตุ้นให้บุตรดูดนมมารดาทันทีหลังคลอด
การรักษาการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
1.การตกเลือดก่อนรกคลอด
ตรวจวัดความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เจาะเลือดมารดาเพื่อตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด พร้อมทั้งขอเลือด
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้
ให้ยา Oxytocin 10 – 20 unit
ทำคลอดรกโดยวิธี Cord traction
ตรวจรกที่คลอดแล้วอย่างละเอียด
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
ฉีด Methergin 0.2 mg
กรณีภายหลังรกคลอดแล้ว ถ้าเลือดยังออกอยู่ให้ปฏิบัติข้อ 2 ต่อไป
3.การตกเลือดในระยะหลัง/ระยะทุติยภูมิ (Late or Delay postpartum hrmorrhage)
มีก้อนเลือด2. ภาวะติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
3.เลือดออกจากแผลภายใน4. สาเหตุร่วม
5.เลือดออกจากแผลของมดลูกภายหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและมะเร็งไข่ปลาอุก
2.การตกเลือดภายหลังรกคลอด
2.3 กรณีท้าตามข้อ 2.1 และ 2.2 แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆ
ให้ตรวจภายในโพรงล้วงมดลูก ภายใต้
การดมยาสลบ โดยงดเว้นการฮาโลเทน ดูว่ามีก้อนเลือดหรือเศษรกค้างอยู่หรือไม่ถ้ามีก็พยายามออกให้หมด
หรือขูดมดลูก เพื่อให้มดลูกหดรัดตัวดียิ่งขึ้นและถ้าพบว่ามดลูกมีรอยฉีกขาดหรือทะลุให้รีบผ่าตัดเปิดช่องท้อง
ทันที
2.1 กรณีมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
2.1.1 คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
2.1.2 สวนปัสสาวะออกให้หมด แล้วคาสายสวนไว้
2.1.3 ให้ 5%D/W หรือ 5% D/NSS หรือ Ringer lactase solution (RLS) 1,000 ml. ร่วมกับOxytocin 10 – 20 unit ผสมอยู่
(กรณีที่ยังไม่ได้ให้) และขอเลือดเตรียมไว้ 2 – 4 unit
2.1.4 ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
2.1.5 วางกระเป๋าน้ าแข็งบริเวณหน้าท้อง และคลึงให้มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา
2.2 กรณีมีการฉีดขาดของช่องทางคลอด
ถ้ามดลูกหดรัดตัวดีแล้ว แต่ยังมีเลือดไหลออกมาเรื่อยๆ
และสีค่อนข้างแดงสดให้ใช้เครื่องมือถ่างขยายช่องคลอดให้เห็นภายในช่องคลอด และปากมดลูกได้ชัดเจน
ตรวจหารอยฉีกขาด
2.4กรณีทำตามข้อ 2.1 , 2.2 และ 2.3 แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆ จะให้การรักษาดังนี้
2.4.1 ตรวจเลือดหา Venus clotting time, clot retraction time และ
clot lysisโดยเฉพาะในกรณีที่เลือดออกเป็นน้ าเลือดไม่แข็งตัวเป็นก้อน
2.4.2 ทำBimanual compression บนตัวมดลูก
2.4.3 กรณีการตกเลือดหลังคลอดทันทีจากการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี และทำตามขั้นตอนดังกล่าวแล้วเลือดไม่หยุด ควรพิจารณาฉีด Prostaglandin
2.5 หากทำตามข้อ 2.1 ถึง 2.4 แล้วยังคงมีเลือดออกอยู่เรื่อยๆ ถ้าอายุมากหรือมีบุตรเพียงพอแล้วให้ตัดมดลูกออก กรณีอายุน้อยและยังต้องการมีบุตรอีกให้ท าการผ่าตัดผูกหลอดเลือดInternal iliac
hypogastric เพื่อเก็บมดลูกไว้
2.6 ดูแลผู้ปุวยภายหลังเกิดการตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
2.6.1 ตรวจวัดชีพจร ความดันโลหิต การหายใจ และระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
2.6.2 ตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด
2.6.3 ค านวณหา Intake และ Output
2.6.4 ให้ยาปฏิชีวนะประเภทครอบคลุมเชื้อได้กว้างขวาง
2.6.5 ให้ยาบ ารุงเลือด และอาหารที่มีประโยชน์อย่างเพียงพอ
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก (Early or immediate postpartum hemorrhage)
ผลของการตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
ภาวะซีด อ่อนเพลีย สุขภาพทรุดโทรม
ภูมิต้านทานโรคต่ำติดเชื้อได้ง่าย
เกิด Necrosis ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Sheehan’ s syndrome)
การรักษาการตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
รายที่มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก พิจารณาให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก
3.รายที่มีเลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด ให้ทำความสะอาดและเย็บแผลให้เลือดหยุดถ้าเนื้อเยื้อบริเวณแผลยุ่ยมาก เย็บแล้วเลือดไม่หยุดอาจต้องกดไว้หรือใช้ผ้าก๊อซอัดไว้ในช่องคลอดร่วมกับการใช้ยา
ปฏิชีวนะ
รายที่มีเศษรกค้าง หรือมีก้อนเลือดค้างอยู่ในโพรงมดลูก ให้Oxytocin แล้วทำการขูดมดลูก
การวินิจฉัยการตกเลือดระยะหลัง
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออก
ทางช่องคลอด มักเกิดอาการภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอดส่วนใหญ่พบระหว่างวันที่ 7 – 14 หลังคลอด ส่วนอาการอื่นๆ คล้ายกับการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะตกเลือด
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย ตามระบบต่างๆ
มีเลือดสดออกทางช่องคลอด
ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ า กระสับกระส่าย
การมีรกหรือเศษเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
ความรุนแรงของการเสียเลือด
การบวมเลือดของอวัยวะสืบพันธ์
ความสามารถในการเข้าอู่ของมดลูก
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
อาการติดเชื้อ
การตรวจทางช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จ้าเป็น
CBC, การตรวจหาหมู่เลือด และการตรวจเลือดเพื่อประเมิน
การแข็งตัวของเลือด
การซักประวัติ
ประวัติทางสูติศาสตร์
ประวัติความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์
ประวัติส่วนตัว
การพยาบาล
การพยาบาลขณะตกเลือด
2.6 ให้ออกซิเจน
2.7 ตรวจการมีเลือดออก และการหดรัดตัวของมดลูก
2.5 ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
2.8 ช่วยเหลือแพทย์ในการตรวจหาเศษเยื่อหุ้มรกค้าง
2.4 ดูแลการให้สารน้ าทางหลอดเลือดด าและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
2.9 บันทึกปริมาณสารน้ าที่ได้รับและออก
2.3 คลึงมดลูกให้แข็งตัวเป็นระยะ
2.10 ตรวจสอบผลการตรวจเลือด ติดตามค่า CBC
2.2 จัดท่าให้นอนราบเพื่อให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจและสมองดีขึ้น
2.11 อธิบายพยาธิสภาพที่เกิดขึ้น ตลอดจนการรักษาพยาบาลให้ผู้คลอดทราบและเข้าใจ
2.12 ติดตามปริมาณน้ าคาวปลา สี กลิ่น จากจ านวนผ้าอนามัย
2.13 ถ้ามีเลือดออกไม่หยุด กรณีรักษาดังกล่าวข้างต้นแล้ว แพทย์อาจพิจารณา ตัดมดลูก พยาบาลควรให้ก าลังใจและอธิบายให้เข้าใจถึงความจ าเป็นในการรักษา
2.1 ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที จนกว่าจะคงที่
การพยาบาลระยะหลังการตกเลือด
3.4 ระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากอาการหน้ามืด เมื่อลุกนั่ง
3.5 แนะน าการคลึงมดลูก
3.6 แนะนำการปฏิบัติตัวหลังคลอด
3.3 ดูแลให้รับประทานอาหารและยาวิตามิน ธาตุเหล็ก ตามแผนการรักษา
3.2 ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
3.7 แนะนำอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์
3.1 ใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
3.8 กระตุ้นการรับรู้เกี่ยวกับบุตร
การพยาบาลเพื่อปูองกันการตกเลือด
ในรายที่คาดว่าจะมีการตกเลือดให้เตรียมสารน้ำ ยา และอุปกรณ์กู้ชีวิต
ตรวจหากลุ่มเลือดขณะตั้งครรภ์
ระมัดระวังการทำคลอดทุกระยะให้ถูกวิธี
ดูแลในระยะ 2 ชั่วโมงหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ประเมินปัจจัยเสี่ยง