Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตกเลือดหลังคลอด, การรักษา - Coggle Diagram
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
สาเหตุ
มีก้อนเลือด หรือเศษรกค้างในโพรงมดลูก
ติดเชื้อในโพรงมดลูก
เลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด
เลือดออกจากแผลของมดลูกภายหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและมะเร็งไข่ปลาอุ
การวินิจฉัย
มีเลือดออกทางช่องคลอด ภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
อาการอื่นๆเหมือนระยะแรก
ผลของการตกเลือด
1.มีภาวะซีดอ่อนเพลียสุขภาพทรุดโทรม
2.ภูมิต้านทานโรคต่ำ ติดเชื้อได้ง่าย
3.เกิด Necrosis ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Sheehand's syndrom)
การรักษา
1.รายที่มีรกค้าง หรือก้อนเลือดค้างในโพรงมดลูก ให้Oxytocin แล้วขูดมดลูก
2.รายที่มีการติดเชื้อให้พิจารณาให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกร่วมกับยาปฏิชีวนะ
3.รายที่มีเลือดออกจากแผลภายในช่องคลอดทำความสะอาดและเย็บแผล เพื่อให้เลือดหยุด
การประเมินผลการพยาบาล
1.ผู้คลอดปลอดภัยจากภาวะตกเลือด
2.ผู้คลอดไม่มีเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ
3.ผู้คลอดไม่มีภาวะติดเชื้อหลังคลอด
4.ผู้คลอดได้รับการดูแลและสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและแสดงบทบาทเป็นมารดาได้
5.ผู้คลอดและญาติได้รับข้อมูลเกี่ยวกับความก้าวหน้าของการคลอดและการรักษาพยาบาล
6.ผู้คลอดปฏิบัติตนได้เมื่อมีภาวะตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
การป้องกันตกเลือด
1.ประเมินปัจจัยเสี่ยง เพื่อเฝ้าระวัง
2.ทําคลอดให้ถูกวิธิทุกระยะ เพื่อป้องกันการฉีกขาดของช่องทางคลอด ไม่เร่งทำคลอดรกก่อนรกลอกตัว
3.ในรายที่คาดว่าจะตกเลือดให้เตรียมสารน้ำ ยา และอุปกรณ์กู้ชีพให้พร้อม
4.ตรวจหากลุ่มเลือดขณะตัังครรภ์
5.ดูแลในระยะ 2 ชม หลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ขณะตกเลือด
1.ตรวจและบันทึก v/s ทุก 15 นาทีจนกว่าจะคงที่
2.จัดท่านอนหงายราบ
3.คลึงมดลูกให้แข็งเป็นระยะ
4.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
5.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
6.ให้ออกซิเจน
7.ตรวจการมีเลือดออก และการหดรัดตัวของมดลูกถ้ามีการฉีกขาดของช่องทางคลอดให้เย็บซ่อมแซม
8.ช่วยเหลือแพทย์ในการหาเศษเยื่อหุ้ม รกค้าง
9.บันทึกปริมาณสารน้ำที่ได้รับจำนวนเลือดที่เสีย จำนวนปัสสาวะที่ออก
10.ติดจามผล Lab
11.อธิบายพยาธิสภาพที่เกิดขึ้น และแผนการรักษาให้ผู้คลอดเข้าใจ
12.ติดตามปริมาณน้ำคาวปลา สี กลิ่น จากจำนวนผ้าอนามัย
13.ถ้าทําตามข้างต้นแล้วเลือดยังไม่หยุดไหลแพทย์อาจพิจารณาตัดมดลูก
หลังตกเลือด
1.ใส่ผ้าอนามัยเพื่ออสังเกตปริมาณเลือดที่ออกจากช่องคลอด
2.ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
3.ดูแลให้รับประทานอาหารและยาวิตามิน ธาตุเหล็ก ตามแผนการรกัษา
4.ระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นนจากอาการหน้ามืด เมื่อลุกนั่ง
5.แนะนําการคลึงมดลูก
6.แนะนําการปฏิบัติตัวหลังคลอด
7.แนะนําอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์
8.แนะนําการกระตุ้นพัฒนาการบุตร
ชนิดของการตกเลือดหลังคลอด
1.การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก (Early/primary PPH)ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
2.การตกเลือดหลังคลอดระยะหละง(late/secondary PPH) ภายหลังคลอด 24 ชั่วโมงจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
สาเหตุ
1.การหดรัดตัวของมดลูก (Tone)
การเจ็บครรภ์คลอดที่เนินนาน หรือ คลอดเร็วเกินไป
กล้ามเนื้อมดลูกยืด ขยายมากผิดปกติ ครรภ์แฝด
คลอดบุตรหลายครั้ง
การใช้ยาบางชนิด เช่น ฮาโลเทน > ฤทธิ์ทำให้มดลูกคลายตัว
คลอดยาก หรือใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากรกเกาะต่ำหรือรกลอกตัวก่อนกําหนด
มดลูกติดเชื้อทําให้หดรัดตัวไม่ดี
มารดามีปัญหาสุขภาพ โรคเกี่ยวกับเลือด หรือมีประวัติตกเลือด
การหดรัดตัวที่ไม่สม่ำเสมอของกล้ามเนื้อมดลูกบางชนิด
Constriction ring
สาเหตุอื่น ๆที่ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
มดลูกหดรดั ตัวไม่ดี
2.การฉีกขาดของช่องทางคลอด(Trauma)
ทําคลอดและช่วยคลอนไม่ถูกวิธี
หรือทําสูติศาสตร์หัตถการขณะปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
การคลอดเร็วผิดปกติ
ตัดฝีเย็บไม่ถูกวิธี
CPD
มดลูกบางกว่าปกติ
3.รกหรือเศษรกค้างภายในมดลูก(Tissue)
การทำคลอดผิดวิธี
ความผิดปกติของรก
มีรกน้อย
4.การผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด(Thrombin)
โรคเลือด เช่น aplastic anemia,ITP
ได้รับยา anticoagulution ประวัติโรคตับ
การวินิจฉัย
อาการ
มีเลือดออกทางช่องคลอด
เกิดเลือดคั่งที่เอ็นยึดมดลูก
มดลูกปลิ้น เลือดพุ่งออกมาเป็นจํานวนมาก
อาจมีลิ่มเลือดหรือเลือดสีแดงปนคล่ำ
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
เลือดที่ไหลออกมาจะเป็นสีแดงสด
การฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยจะพุ่งแรงตามจังหวะชีพจรไหลไม่หยุดแม้มดลูกแข็งตัว
ถ้าเลือดเกิดจากการหดรัดตัวไม่ดีของมดลูก
เลือดจะเป็นสีแดงสดหยุดเมื่อมดลูกหดรัด ตัวดี
หากมีเศษรกค้าง ตกเลือดหลังคลอดทันที
อาการแสดงของภาวะตกเลือด
ตรวจดูชนิดส่วนของรกที่อาจค้างอยู่
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การป้องกัน
ระยะก่อนคลอด
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
ระยะคลอด
1.ดูแลไม่ใหเ้กิดการคลอดยาวนาน
2.ไม่ให้ยาแก้ปวดที่ขนาดมากเกินไป
3.ทําคลอดอย่างถูกต้องและเหมาะสม
4.ตรวจรกและช่องทางคลอดอย่างละเอียด
ระยะหลังคลอด
1.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง โดยกระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะภายใน 2 ชม.หลังคลอด
2.ในรายที่ได้รับยากระตุ้นให้เจ็บครรภ์อาจให้oxytocin ต่อภายหลังการคลอด 2 ชม
3.กระตุ้นให้บุตรดูดนมมารดาทันทีหลังคลอด เพื่อกระตุ้นให้oxytocin หลั่งออกมากขึ้น เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว
ความหมาย
การเสียเลือดผ่านทางช่องคลอดภายหลังทารกคลอดในปริมาณมากกว่า 500 มล/ร้อยละ 1 ของน้ำหนักตัวมารดา
การรักษา
การตกเลือดก่อนรกคลอด
1.ประเมิน v/s
2.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
3.เจาะเลือดและเตรียมเลือดสํารอง
4.retain Foley's cath
5.ให้oxytocin
ุ6.ทําคลอดรกโดยวิธี cord contraction
7.ตรวจรกที่คลอดแล้วอย่างละเอียด
การตกเลือดภายหลังรกคลอด
กรณีมดลูกหดรดั ตัวไม่ดี
1.คลึงมดลูกให้กลมแข็งตลอดเวลา
2.retain foley's cath
3.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา ร่วมกับ oxytocin
4.ฉีด Methergin 0.2 mg. เข้าทางหลอดเลือดดำ
กรณีมีการฉีกขาดของชอ่ งทางคลอด
ตรวจสอบการฉีกขาดของช่องทางคลอดให้รายงานแพทย์ เพื่อเย็บมาซ่อมแซมช่องทางคลอด