Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับ กล้ามเนื้อและกระดูก, นางสาวนพวรรณ …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับ กล้ามเนื้อและกระดูก
โรคแทรกซ้อน
Volkmann’ s ischemic contracture
โรคแทรกซ้อนชนิดหนึ่ง ที่ทำให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ ซึ่ง พบมากในผู้ป่วยที่มีกระดูกหักบริเวณ supracondylar of humerus และในผู้ป่วยที่มี fracture both bone of forearm
Bone and Joint infection
Definite
(ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน)ตรวจพบ เชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อติดกับกระดูก นั้นหรือผลตรวจชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อผิด รูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
Probable
(น่าจะติดเชื้อที่กระดูก)การติดเชื้อใน เลือดร่วมกับลักษณะทางคลินิคและภาพรังสี
Likely
(คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)พบลักษณะทางคลินิคและ ภาพรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อที่กระดูกตอบสนองดีต่อยา ปฏิชีวนะโดยที่ไม่พบเชื้อจากการเพาะเลี้ยง
Osteomyelitis
อุบัติการณ์พบในเด็กอายุน้อยกว่า13ปีพบมีการติดเชื้อ ที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุดเช่นfemur,tibia,humerus มักเป็นตำแหน่งเดียวผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหต
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบรเิวณใกล้เคียง จากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
โรคกระดูกอ่อน (Ricket
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ท้าให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูก อ่อนทำให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูกทำให้กระดูกหักง่าย
Club Foot (เท้าปุก)
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน(varus)ส่วนกลาง เท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดอาจเกิดจาก gene และปัจจัย ส่งเสริม
การติดเชื้อในครรภ์
แมสู่บบุหรี่ขณะ ตั้งครรภ์มีอุบัตกิารณ์ถึง 2.4 เท่า
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
ฝ่าเท้าของคนปกติเมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเรา เรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมี ตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มี เราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
สาเหตุ
.เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
.เกิดจากการเดินที่ผิดปกติเช่นการเดิน แบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
.เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง ซึ่งเด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ ผิดปกติ การขยับแขนขา ลำตัว ใบหน้า ลิ้น รวมถึงการทรง ตัวที่ผิดปกติ
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหว
Spastic CP
จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่นไม่สามารถ หดตัวได้เหมือนกล้ามเนื้อปกติ มีลักษณะแข็งทื่อ
Ataxic CP
กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบ ระเบียบทำให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้
Athetoid CP
มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกันทำให้ เด็กควบคุมสมดุลไม่ได้ทำให้โซเซและหกล้มได้ง่าย
Mixed CP
เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสามคือ เด็กคนเดียว อาจมีลักษณะที่กล่าวมาแล้วโดยประมาณกันว่า 1 ใน 4 ของคนที่ เป็นซีพีจะมีลักษณะของการผสมผสานประเภทนี้
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องโดยที่มีการสร้างผนัง หน้าท้องไม่สมบูรณ์ทำให้บางส่วนขาดหายไปมีแต่เพียงชั้นบางๆที่
ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้องPenitoealและเยื่อamnionประกอบกัน เป็นผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุงปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมาอยู่ นอกช่องท้อง เช่น ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหารและตับ
Gastroschisis
การที่มีผนังหน้าท้องแยกจากกันเป็นความ ผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนา สมบูรณ์แล้วเกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
พบในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่พบในเพศชายมากกว่า เพศหญิงพบร้อยละ 5 ของโรคมะเร็งในเด็ก
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติรับ น้ำหนักไม่ได้มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
ภาวะกระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การมีกระดูกสันหลังคดไปด้านข้างร่วมกับมีการ หมุนของปล้องกระดูกสันหลังเกิดความพิการทาง รูปร่างและผิดปกติของทรวงอกร่วมด้วย
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
เป็นลักษณะที่ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจาก กล้ามเนื้อด้านข้างคอSternocleidomastoidที่เกาะยึดระหว่างกระดูก หลังหูกับส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลงทำให้เอียงไปด้านที่ หดสั้นใบหน้าจะบิดไปด้านตรงข้าม
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthiti
ต่ำแหน่งที่พบบ่อย ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กพบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด วัณโรคปอดพบร้อยละ 25 ของวัณโรคในเด็กที่อายุต่ำกว่า 15 ปี
การผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้อาจใช้ plate, screw, nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาทำใน รายที่กระดูกหักมากเกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
การดึงกระดูก(Traction)
Bryant’s traction
ใช้ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก(fracture shaft of femur) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบหรือน้ำหนักไม่เกิน13 กิโลกรัม
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขนเป็นการเข้า tractionในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศากับ ลำตัว
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femurหรือfractureบริเวณsupracondyla region of femur การท้า traction
Skin traction
ใช้ในรายที่มีfacture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า3ขวบขึ้นไปtractionแบบนี้อาจเกิดปัญหา การกดperoneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
Dunlop’s traction
ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่(reduce)ได้ หรือในรายที่มีอาการบวมมากบางกรณีใช้เพียง เพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
การเข้าเฝือกปูน
เตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลัง เข้าเฝือกภายใน 24
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือ ข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์ [โรคที่จะเกิดกับกระดกูหักนั้นๆ]
เป้าหมายการรักษา
จัดกระดูกให้เข้าที่และ ดามกระดูกให้มีแนว กระดูก (alignment) ที่ยอมรับได้จนกระดูก ที่หักติดดี
ให้อวัยวะนั้นกลับ ทำงานได้เร็วที่สุด
ระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวดอาจช่วย ได้โดยให้ยาลดปวดจัดให้กระดูกที่หักอยู่ นิ่งๆโดยใช้เฝือกดาม
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก(fracture of clavicle)
กระดูกต้นแขนหัก(fracture of humerus)
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส(Transient subluxation of radial head,pulled elbow)
กระดูกข้อศอกหัก(Supracondylar fracture)
กระดูกปลายแขนหัก
ภยันตรายต่อข่ายประสาทbrachial plexus
กระดูกต้นขาหัก(fracture of femur)
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมาประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูกมี องค์ประกอบสำคัญคือคอลลาเจนไฟเบอร์ (collagen fiber) แคลเซี่ยมเซลล์สร้างกระดูก(osteoclast)รวมเรียกสิ่งที่สร้างขึ้น ว่า(callus)เปรียบเสมือนเป็นกาวธรรมชาติ(biological glue)
ข้อเคลื่อน
หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออก จากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้าซึ่งการ บาดเจบ็ของข้อและกระดูกยงัสง่ผลให้เนื้อเยื่อ ที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้ำเหลือง เส้นประสาทและเสน้เอ็นได้รับอันตรายดว้ย
กระดูกหัก
หมายถึง ภาวะที่โครงสร้างหรือ ส่วนประกอบของกระดกูแยกออกจากกัน อาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิงหรอืมีเพียง บางส่วนติดกนัหรือเป็นเพยีงแตกรา้ว
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อน มีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สงู
อาการและอาการแสดง
ปวดและกดเจ็บบริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบรเิวณ ที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้ำเขียวเนื่องจากมีเลือด ซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมี ลักษณะผิดรูป
นางสาวนพวรรณ ผายชำนาญ เลขที่ 33 ห้องB รหัสนักศึกษา613601141