Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคกระดูกอ่อน (Ricket) และกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
โรคกระดูกอ่อน (Ricket) และกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ
Cerebral Palsy
การรักษา
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีด กลุ่ม Botox
ป้องกันความผิดรูปของข้อ
กายภาพบำบัด(Physical Therapy)
อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)
การผ่าตัด
ย้ายเอ็น
ลดความตึงของกล้ามเนื้อ
ความหมาย
ความพิการทางสมอง มีการขยับและทรงตัว พูดคุย กิน การเปล่งเสียงที่ผิดปกติ มักมีปัญหาการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ จัดเด็กพิการ CP
สาเหตุ
ก่อนคลอด
การติดเชื้อ
อุบัติเหตุ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด /หลังคลอด
คลอดยาก , สมองกระทบกระเทือน ,ขาดออกซิเจน , ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกการเคลื่อนไหว
Spastic CP
Double hemiplegia
Diplegia
Hemiplegia
อื่นๆ เช่น monoplegia, paraplegia, triplegia
quadriplegia
Ataxic CP
Athetoid CP
Mixed CP
Omphalocele
ความหมาย
ความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง (ไม่สมบูรณ์) บางส่วนขาดหายไป มีชั้นบางๆประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้องงPenitoeal และเยื่อamnion ประกอบกันเป็นผนังปิดหน้าท้อง
ลักษณะทางคลินิก
มีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนังตัวถุงเป็นรูปโดม ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายในได้
การรักษา
operative
conservative
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution)
การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (staged repair)
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
Gastroschisis
การวินิจฉัย
พบถุงสีขาวขุ่นบางขนาดต่างกัน สามารถมองเห็นขดลำไส้หรือตับผ่านผนังถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับถุง ขนาดที่พบ 4 –10 cm
ความหมาย
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การดูแลการคลอดและนำส่งโรงพยาบาล
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
เริ่มให้ antibiotic ได้ทันที
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Incubator หรือผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
ตรวจระดับ น้ำตาล เกลือแร่ในกระแสเลือด
เจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมทำการจองเลือด เผื่อว่าต้องทำการให้เลือด
การดูแลทั่วไป
การรักษาความอบอุ่น
การอาบน้ำไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
การดูแลเฉพาะ
การทำแผล สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
ความหมาย
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องในการจับเกาะเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
่
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
โรคไตบางนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase
อาการและอาการแสดง
ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป ได้แก่ กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรงหลังแอ่น
การป้องกัน
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขว้างการดูดซึมของแคลเซียม
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างกระดูก
การรักษา
แบบประคบประคอง ใชหลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ ให้วิตามินดี
Bone and Joint infection
Osteomyelitis
การรักษา
การผ่าตัดเอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
อุบัติการณ์
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด เช่น femur , tibia , humerus มักเป้นตำแหน่งเดียว
อาการแทรกซ้อน
ทำลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญเติบโตของกระดูกตามยาว มีการโก่งผิดรูปของกระดูก
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ ปวดมากขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR ,CRP มีค่าสูง
ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม, metaphysis Bone scan ไดผลบวก,MRI พบ soft tissue abcess ,bone marrow edema ทำตอนเด็กหลับ
ประวัติ
มีอาการปวด มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บเแพาะร่วมด้วย
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรืออวัยวะข้างเคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
septic arthritis
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด(avascular necrosis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่นจากการทิ่มแทงเข้าในข้อ
การรักษา
การผ่าตัด (Arthrotomy and drainage)
การให้ยาปฏิชีวนะ
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อ
การตรวจทางรังสี
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือหลุดเคลื่อน
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อ (joint aspiration) มาย้อม gram stain ผล CBCพบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
Tuberculous Osteomyelitis and
Tuberculous Arthitis
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
อาการแทรกซ้อน
กระดูกสันหลังค่อม
ปวดข้อ ผิวข้อ ขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
อัมพาต
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
ผ่าตัด
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดด้วยการหายใจ ไอ จาม และแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous spread และถูกระบบภูมิคุ้มกันทำลายแต่อาจมีเชื้อบางส่วนที่อยู่ตามอวัยวะต่างๆ จะลุกลามเมื่อมีปัจจัยเหมาะสม
อาการและอาการแสดง
ที่กระดูกสันหลังเชื้อจะเข้าทางท่อน้ำเหลือง เชื้อจะทำลายกระดูกสันหลัง
กระดูกบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนอง ไม่มีการอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง แต่จะทำลายกระดูกอ่อนของผิวข้อ
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทดสอบ tuberculin test ผล+
ค่า CRP , ESR สูง
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก
การตรวจทางรังสี
MRI
plaint film
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำ
Club Foot (เท้าปุก)
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
ผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release)
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (triple fusion)
การผ่าตักกระดูก (osteotomy)
การวินิจฉัย
positional clubfoot : ขนาดใกล้เคียงเท้าปกติ
idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายเองได้ต้องได้รับการรักษา
ลักษณะ
ข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนด้านหน้าและกลางเท้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
แบบไม่ทราบสาเหตุ
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot
neuromuscular clubfoot
teratologoc clubfoot
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
สาเหตุ
การเดินที่ผิดปกติ
พันธุกรรมในครอบครัว
เอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
การรักษา
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาการ
ขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
มีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
ปวดน่อง เข่า และสะโพก
Osteosarcoma
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักลด
มีไข้
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
การเคลื่อนไหวผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก ตำแหน่งก้อน การเคลื่อนไหวต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI , CT เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค
ระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (ALP) มีค่าสูง
ระดับ แลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH) มีค่าสูง
การซักประวัติ
ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา