Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สายสะดือย้อย(Prolapsed of the umbilical cord) - Coggle Diagram
สายสะดือย้อย(Prolapsed of the umbilical cord)
ความหมาย
สายสะดือย้อย คือ ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้างๆ หรือต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ หรือสายสะดือโผล่ออกมาภายนอกช่องคลอด
ชนิดของสายสะดือ
2.สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ และถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
3.สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ และถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
1.สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติ หรือลงมาอยู่ข้างๆส่วนนำของทารกในครรภ์
สาเหตุ
5.การตั้งครรภ์หลัง
6.การเจาะถุงน้ำ หรือถุงน้ำแตกก่อนที่ส่วนนำจะลงสู่เชิงกราน
4.ทารกไม่ครบกำหนด
3.การตั้งครรภ์แฝด/ครรภ์แฝดน้ำ
7.สายสะดือยาวกว่าปกติ
2.ภาวะที่มีการผิดสัดส่วนของส่วนนำทารกกับช่องทางคลอด
8.รกเกาะต่ำ หรือสายสะดือเกาะบริเวณริมขอบรก
1.ทารกท่าผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
เสียงหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
คลำพบสายสะดือจากการตรวจภายใน
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง
ผลกระทบ
มารดา
ด้านจิตใจถ้าทารกในครรภ์เสียชีวิต
ทารก
ขาดออกซิเจน
เสียชีวิต
การรักษา
1.การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
4.ถ้าสายสะดือมีแนวโน้มจะโผล่ออกมา ควรพยายามให้อยู่ในช่องคลอด
3.ให้ออกซิเจนแก่มารดา
5.หากสายสะดือย้อยออกมานอกช่องคลอด ให้ใช้ก๊อซชุบน้ำเกลือNSS คลุมปิดสายสะดือไว้
2.สอดมือเข้าไปในช่องคลอด แล้วดันส่วนนำไว้ไม่ให้ส่วนนำเคลื่อนลงมากดสายสะดือ
6.ทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึง
1.จัดท่านอนหงายยกก้นสูง/นอนตะแคงยกก้นสูง/นอนในท่าโก้งโค้ง
2.การช่วยเหลือการคลอด
2.ผ่าตัดคลอดทางหน้าคลอด
3.กรณีทารกในครรภ์เสียชีวิต ให้ดำเนินการคลอดทางช่องคลอด ยกเว้นผิดสัดส่วนผ่าท้องคลอด
1.ถ้าทารกในครรภ์มีชีวิตอยู่ ปากมดลูกเปิดหมด ศีรษะทารกลงมาต่ำให้ช่วยคลอดด้วยคีม
4.Breech extraction ในกรณีเป็นท่าก้น ปากมดลูกเปิดหมด ไม่มีภาวะผิดสัดส่วนของทารกกับช่องเชิงกราน
5.ใช้เครื่องดึงสุญญากาศในรายที่เป็นครรภ์หลัง
6.ในครรภ์หลังที่ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 7-8 ซม.ขึ้นไปที่เป็นชนิด Forelying cord ท่าของทารกปกติมีความก้าวหน้าของการคลอดเร็ว หากไม่มีภาวะขาดออกซิเจน พยายามไม่ให้ถุงน้ำแตก อาจรอเพื่อให้คลอดเองทางช่องคลอดได้
การพยาบาล
5.ถ้าพบสายสะดือย้อย ใช้นิ้วมือดันส่วนนำไว้ไม่ให้เคลื่อนต่ำลงมา และจัดท่าให้ยกก้นสูง
6.ดูแลมารดาให้ได้รับออกซิเจน
4.ตรวจภายในด้วยความนุ่มนวล
7.เตรียมการคลอดฉุกเฉิน หรือเตรียมผ่าตัดทางหน้าท้อง และรายงานแพทย์
3.ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
8.อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนการช่วยเหลือ
2.ดูแลให้นอนพักบนเตียง เมื่อถุงน้ำคร่ำแตก
9.ประเมินสภาพจิตใจมารดาหลังคลอดในกรณีที่สูญเสียบุตร
1.ประเมินสภาพมารดาและทารกในครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดิอย้อย เนื่องจากมีน้ำเดินก่อนการเจ็บคครภ์
เกณฑ์การประเมินผล
ตรวจภายในไม่พบสายสะดือ
เสียงการเต้นของหัวใจทารกในคครภ์ปกติ
ทารกในครรภ์ดิ้นดี
กิจกรรมการพยาบาล
2.ดูแลให้มารดานอนพักห้ามลุกจากเตียง
3.ฟังและบันทึกเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ ทุก 30 นาที
1.อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนช่วยเหลือ
4.ให้มารดาสังเกตลักษณะน้ำคร่ำ
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะสายสะดือย้อย
3.ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน เนื่องจากเกิดภาวะสายสะดือย้อย
เกณฑ์การประเมินผล
เสียงหัวใจทารกในครรภ์ปกติ
ทารกแรกคลอดปลอดภัย APGAR score ไม่น้อยกว่า 8 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
3.จัดท่าให้มารดานอนยกก้นสูง
4.ให้ออกซิเจนมารดา
2.ทันทีที่พบสายสะดือย้อย ให้ใช้นิ้วดันส่วนนำไม่ให้เคลื่อนต่ำลงมา
5.Monitor EFM และบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
1.อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนช่วยเหลือ
6.รายงานแพทย์ เพื่อช่วยเหลือรีบด่วน
อธิบายมารดาเกี่ยวกับการช่วยเหลือการคลอดในกรณีผ่าตัด
วัตถุประสงค์
ทารกในครรภ์ไม่ขาดออกซิเจน
1.เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย เนื่องจากทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
ตรวจภายในไม่พบสายสะดือย้อย
เสียงการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ปกติ
ทารกในครรภ์ดิ้นดี
กิจกรรมการพยาบาล
2.ตรวจภายในด้วยความนุ่มนวล และระมัดระวังไม่ให้ถุงน้ำแตก
3.ฟังและบันทึกเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ ทุก 1 ชม.
1.อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนช่วยเหลือ
4.ให้มารดาสังเกตการดิ้นของทารกในครรภ์
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะสายสะดือย้อย
4.มารดาและครอบครัวมีความเศร้าโศรก เนื่องจากสูญเสียทารก
เกณฑ์การประเมินผล
สีหน้าและแววตาคลายความโศกเศร้า
ทำใจยอมรับการสูญเสียทารกได้
กิจกรรมการพยาบาล
2.รับฟัง เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก และรับฟังอย่างตั้งใจ
3.ส่งเสริมพฤติกรรมการปรับตัวต่อความเครียดอย่างเหมาะสม
1.ประเมินภาวะจิตใจมารดาและครอบครัว
4.ส่งเสริมและแนะนำสมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลมารดาอย่างใกล้ชิด
วัตถุประสงค์
ลดความเศร้าโศกจากการสูญเสียทารก