Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
ปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
การรักษา
- แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
- การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น ,รับประทานอาหารพวกโปรตีนและแคลเซียมให้วิตามินดี 200 หน่วย/วันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด , ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก , ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมCa เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาระบาย
อาการและอาการแสดง
-
ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป ได้แก่ กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง หรือ กะโหลกนิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
หนึ่งขวบขึ้นไปแล้วจะพบความผิดรูปมากขึ้น ขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหลังค่อม เดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
สาเหตุ
- ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ดูดซึม Caกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง หรือรับประทานสารที่ขัดขวางการดูดซึมของCaและVit D เช่น อะลูมิเนียมไฮดรอกไซค์ บาร์บิทูเรต
- โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและ ฟอสเฟต เช่น Renal Tubular Insufficiency และ Chronic renal Insufficiency
- ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
- Hypophosphatasiaจากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวสำคัญที่ทำให้เกิดการจับเกาะของเกลือแร่
-
-
-
Club Foot (เท้าปุก)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ มีอุบัติการณ์ถึง 2.4 เท่า , การติดเชื้อในครรภ์ เป็นต้น
1.2 teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิด เช่น arthogryposis multiplex congenita
1.3 neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็นตั้งแต่เกิด/ ภายหลัง เช่น ใน cerebral palsy , myelomeingocele , neurological injury , other neuromuscular disease
-
- แบบไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot) หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus (ITCEV) พบตั้งแต่กำเนิด
อาการ
มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
การวินิจฉัย
ดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะ “เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน” ควรแยกระหว่างเท้าปุกที่สามารถหายได้เองจากผลของท่าของเท้าที่บิดขณะอยู่ในครรภ์ positional clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก เมื่อเขี่ยด้านข้างของเท้าเด็กสามารถกระดกเท้าขึ้นเหมือนรูปเท้าปกติได้ idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับการรักษา
การรักษา
- การดัดและใส่เฝือก ได้ผลดีกรณีที่แข็งไม่มาก มารักษาอายุน้อย ดัดใส่เฝือกเพื่อรักษารูปเท้า เปลี่ยนเฝือกทุก 1 – 2 สัปดาห์เพื่อให้ได้ผลดีควรใส่เฝือกตั้งแต่แรกเกิด การดัดใส่เฝือกอาจช่วยให้การผ่าตัดรักษาง่ายขึ้นใส่นาน 2 – 3 เดือน และนัดมา F/U เนื่องจากมีโอกาสบิดซ้ำ
- การผ่าตัด รายที่เนื้อเยื่อมีความแข็ง กระดูกแข็งผิดรูป
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release) อายุ < 3 ปี ผ่าตัดคลายเนื้อเยื่อ Subtalar joint และยืดเอ็นที่ตึงทำให้การเคลื่อนไหวของข้อเท้าใกล้เคียงปกติ
-
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (triple fusion) อายุ 10 ปี ขึ้นไปทำให้ Subtalar joint และ midtarsal joint เชื่อมแข็ง ไม่โต รูปร่างเท้าใกล้เคียงปกติ
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการ
• อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ • ผปู้่วยอาจจะมีตาปลาหรือผวิหนงัฝ่าเทา้จะหนาผดิปกติ • รองเทา้ผปู้่วยจะสึกเร็ว • ปวดฝ่าเทา้ • ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
• เป็นพันธุกรรมในครอบครัว • เกิดจากการเดินที่ผิดปกติเช่นการเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน • เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด • โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลั
การรักษา
1.พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ 2. ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี 3. อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง 4. ใส่แผ่นรองเท้าเสริม 5. อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
-
-
Omphalocele
ลักษณะทางคลินิก
บริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 4 ซม. ขึ้นไป จน>10 ซม. ตัวถุงเป็นรูปโดม ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายในได ้อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วยลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
การรักษา
conservative
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution) เช่น Tr.Mercurochrome, povidene solution หรือ topical antibacterial cream เช่น Silver Zinc Sulfadiazine ทาที่ผนังถุง การใช้สารละลายฆ่าเชื้อ หรือ cream ทาถุง มีผลทำให้หนังแปรสภาพเป็น eschar ที่เหนียวไม่แตกง่าย เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
operative
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure) มักจะทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
-
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ บางส่วนขาดหายไป มีแต่เพียงชั้นบางๆ ที่ ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง Penitoeal และเยื่อ amnion ประกอบกันเป็นผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุง ปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมาอยู่นอกช่องท้อง เช่น ลำไส้เล็กลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหารและตับ เป็นต้น
-