Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ, นางสาววรรณภา ช่อทับทิม 621201153 - Coggle…
วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ
ลักษณะทั่วไป
ลักษณะทั่วไปของวัยสูงอายุ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยสัดส่วนจำนวนประชากรในวัยทำงานและวัยเด็กลดลง เนื่องจากอัตราการเกิดและอัตราการตายของประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง
ความหมายผู้สูงอายุ ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปที่มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจไปในทางที่เสื่อมลง มีบทบาททางสังคม และกิจกรรมในการประกอบอาชีพลดลง
การแบ่งกลุ่มของวัยสูงอายุ
คนชรามาก (Very Old) มีอายุ 90 ปีขึ้นไป
คนชรา (Old) มีอายุระหว่าง 75 –90 ปี
ผู้สูงอายุ (Elderly) มีอายุระหว่าง 60 –74 ปี
การเปลี่ยนแปลงในวัยผู้สูงอายุ
ระยะที่ 2 (หลังอายุ 40 ปีขึ้นไป) ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เสื่อมโทรม และไม่ปรากฏความเจริญงอกงาม (degenerative change)
ระยะแรก เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 40 ปี ซึ่งมีลักษณะเป็นไปในทางเจริญงอกงาม (Growth) เมื่อพ้นวัยผู้ใหญ่แล้วจะเข้าสู่
ลักษณะที่สำคัญ
ผิวหนังเหี่ยวย่น ตกกระ กล้ามเนื้อฝ่อลีบ
นอนไม่หลับหรือนอนหลับมากเกินไป
การมองเห็นและการได้ยินเสื่อมลง รวมทั้งประสาทสัมผัสอื่น ๆ
สภาพร่างกายอ่อนแอ กำลังถดถอยลง เชื่องช้า ความจำไม่ดี หลงลืมง่าย
มีอารมณ์เหงาและว้าเหว่ มีความรู้สึกว่าตัวเองถูกทอดทิ้ง
เป็นช่วงที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงในทางสึกหรอเสื่อมทำลายทุกระบบ
ต้องการความสนใจเอาใจใส่ ชอบสั่งสอน ขี้บ่น
คำแนะนำในการส่งเสริมพัฒนาการและการปรับตัว
การปฏิบัติตนในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
การปฏิบัติของสมาชิกในครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ
บทบาทของสังคมและชุมชนต่อผู้สูงอายุ
การเตรียมรับกับความตาย
ความตายเป็นสิ่งที่เราคาดคะเนไม่ได้ มันมักจะมาแบบไม่คาดคิดไม่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า การเตรียมรับมือกับความตาย จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ทุกคนควรศึกษาไว้
ปัญหาที่พบ
ปัญหาด้านสุขภาพกาย
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสมาชิกในครอบครัวต่อวัยสูงอายุ
ภารกิจขั้นพัฒนาการ
การปรับตัวให้เข้ากับภาวะหม้าย หรือภาวะที่ต้องสูญเสียคู่สมรส
สร้างความพึงพอใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลในวัยเดียวกันและต่างวัย
การปรับตัวให้เข้ากับภาวการณ์ปลดเกษียณที่มีรายได้ลดน้อยลง
สร้างสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสม ทำให้ตนเองเป็นสุข
การปรับตัวให้เข้ากับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เสื่อมไป
การปรับบทบาทแห่งตนในทางที่เป็นคนยืดหยุ่น
พัฒนาการ
การมองเห็น ทำให้มีอาการสายตายาว
การฟังหรือการได้ยินเสียง ความสามารถในการเข้าใจคำพูดและการสนทนาลดลง
พัฒนาการด้านร่างกาย
อัตราของความเสื่อมของอวัยวะต่าง ๆ ในวัยสูงอายุร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกระบบในลักษณะเสื่อมถอย เนื่องจากอัตราการสลาย (Catabolism) มีสูงกว่าอัตราการสร้าง (Anabolism)
นางสาววรรณภา ช่อทับทิม 621201153