Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การบริหารการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 6 การบริหารการพยาบาล
ขอบเขตและความรับผิดชอบของผู้บริหารทางการพยาบาล
ระดับปฐมภูมิ (Primary care level)
1.วางแผน :การวางแผนในงานพยาบาลชุมชน จะครอบคลุมงานบริการสุขภาพให้ประชาชนทั้งในด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมและการป้องกันโรค การฟื้นฟูสภาพ
การจัดองค์กรการพยาบาลในชุมชน การจัดองค์กรพยาบาลในชุมชน เป็นกลุ่มคนในด้านการให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชนมารวมกันไม่ได้มีแต่เพียงพยาบาลเท่านั้น
3.การนําหรืออํานวยการ (Directing) จะต้องมีการสั่งการ มอบหมายงานต่างๆโดยทั่วไปใช้หลักการทฤษฎีภาวะผู้นํา แรงจูงใจหรือการนําการเปลี่ยนแปลง
การควบคุมกํากับงาน (Controlling)และการประเมินผลการปฏิบัติงาน การควบคุมกํากับงานพยาบาลชุมชน
ระดับตติยภูมิ (Tertiary care level) /ระดับทุติยภูมิ (Secondary care level)
จะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันโดยเน้นการให้บริการในหอผู้ป่วย แต่มีความแตกต่างกันในด้านความซับซ้อนขององค์กรและจํานวนเจ้าหน้าที่ในองค์กร พยาบาลที่ระดับตติยภูมิจะมีมากกว่า
บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารการพยาบาล
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้าพยาบาล ผู้ตรวจการ และหัวหน้าหอผู้ป่วย
หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล / หัวหน้ากลุ่มการพยาบาล
รับนโยบายจากผู้อํานวยการ
กําหนดปรัชญา นโยบาย วิสัยทัศน์พันธกิจและเป้าหมายทางการพยาบาล
เป็นผู้นําในการจัดทําแผนกลยุทธ์แผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน แผนปฏิบัติการของกลุ่มการพยาบาล
กําหนดมาตรฐานบริการพยาบาลในภาพรวม
กําหนดเกณฑ์ในการสรรหา/คัดเลือกบุคลากร
กําหนดขอบเขตงานหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของบุคลากรทุกระดับ
ควบคุม กํากับประเมินผลและวิเคราะห์ระบบการพยาบาลของหน่วยงาน
ประสานงานกับส่วนราชการต่างๆ
เป็นที่ปรึกษาทางการพยาบาล
นิเทศงานการพยาบาลทั้งในและนอกโรงพยาบาล
จัดหา ควบคุมพัสดุครุภัณฑ์เครื่องมือทางการแพทย์และทางการพยาบาลให้เพียงพอ
จัดหาและจัดสรรอัตรากําลังให้กับหน่วยงานต่างๆ
ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่ใหม่และผู้มาฝึกงานการพยาบาลในโรงพยาบาล
ควบคุมระบบบริหารงาน
ส่งเสริมและริเริ่มการรักษา ค้นคว้าวิจัยทางการพยาบาล
จัดสวัสดิการให้กับเจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลทุกระดับ
พยาบาลเวรตรวจการ
ปฏิบัติหน้าที่แทนหัวหน้าพยาบาลนอกเวลาราชการ
ตรวจเยี่ยมเจ้าหน้าที่,ให้คําปรึกษาและช่วยแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการให้บริการพยาบาลการจัดอัตรากําลังในกรณีฉุกเฉินและอื่น ๆ
ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยร่วมกับหัวหน้าเวร
บริหารจัดการเรื่องอาคารสถานที่เครื่องมืออุปกรณ์ให้สะอาดเพียงพอและพร้อมใช้
บริหารจัดการเมื่อเกิดเหตุการณ์พิเศษในหน่วยงาน เช่น อุบัติเหตุหมู่ ไฟไหม้อื่นๆ
บันทึกเหตุการณ์สําคัญยอดผู้ป่วยและภาระงาน ส่งต่อให้หัวหน้าพยาบาล หัวหน้างาน/หอผู้ป่วย ทุกวันทําการ
เสนอรายงานเหตุการณ์ผิดปกติหรือเหตุการณ์ที่ไม่สามารถแก้ไขได้ต่อหัวหน้าพยาบาลและผู้อํานวยการ
ปฏิบัติหน้าที่นอกเวลาราชการ เวรเช้าเวลา 8.00– 16.00 น. เวรบ่าย 16.00 -24.00น.และเวรดึกเวลา 24.00-8.00น.
หัวหน้าหอผู้ป่วย
รับนโยบายจากกลุ่มการพยาบาล
กําหนดปรัชญา นโยบาย วิสัยทัศน์และพันธกิจในหน่วยงาน
เป็นผู้นําในการจัดทําแผนกลยุทธ์แผนปฏิบัติงานในหน่วยงาน
วางแผนการดําเนินงานต่างๆในหน่วยงาน
ควบคุม กํากับประเมินผลและวิเคราะห์ระบบการบริการพยาบาลในหน่วยงาน
เป็นที่ปรึกษาและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน
ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วางแผนและจัดสรรอัตรากําลังในหน่วยงาน
จัดตารางการปฏิบัติงาน
ส่งเสริมและสร้างขวัญและกําลังใจแก่บุคลากร
นิเทศบุคลากรทุกระดับในหน่วยงาน
กําหนดความต้องการใช้พัสดุครุภัณฑ์ประจําปี
ให้การพยาบาลผู้ป่วยทั่วไปและที่มีปัญหาซับซ้อนครอบคลุมทั้ง 4มิติ
ปรับปรุง /พัฒนาควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการพยาบาล
เป็นที่ปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับการพยาบาลและงานในหน้าที่แก่บุคลากรทุกระดับและนักศึกษาที่มาฝึกงาน/อบรม
สนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนาศักยภาพด้านการปฏิบัติและทักษะทางการพยาบาล
ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่ใหม่และผู้ศึกษาดูงานในหน่วยงาน
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้าเวร หัวหน้าทีม และสมาชิกทีม
หัวหน้าเวร (Nurse In charge)
สามารถวางแผนปฏิบัติการพยาบาลและตัดสินใจแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้
นําประชุมปรึกษากับทีมงาน กําหนดแผนการพยาบาล
วางแผนและมอบหมายงานให้หัวหน้าทีม
ตัดสินแก้ปัญหาทางการพยาบาลในแต่ละสถานการณ์ และรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ
ประสานงานกับทีมสุขภาพ ได้แก่ แพทย์, นักกายภาพบําบัด, เภสัชกร เป็นต้น
กําหนดระบบและกระบวนการดําเนินงานนิเทศและประเมินผลงาน
บริหารบุคคลในสายงานพยาบาล, บริหารทรัพยากรในการดําเนินการพยาบาล
บันทึกและรายงานการปฏิบัติการพยาบาล
หัวหน้าทีม (Nurse Leader)
ร่วมประชุมปรึกษาทางการพยาบาลของผู้ป่วยในทีม
ปฏิบัติตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
ประสานงานกับหัวหน้าเวร
ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
ปรึกษาและร่วมแก้ปัญหาทางการพยาบาลกับหัวหน้าเวร
รายงานการทํางานกับหัวหน้าเวร
ดูแลเครื่องมือและจัดเก็บการบํารุงรักษา
บันทึกและรายงานการปฏิบัติการพยาบาล
สมาชิกทีม (Member)
ประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
ให้การพยาบาลเฉพาะโรคได้ทุกระดับปัญหา และทุกระดับความรุนแรงของโรค
ตรวจร่างกาย วินิจฉัยโรคขั้นต้น
การสนับสนุนการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ
การสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ
วางแผนและดําเนินการส่งเสริมสุขภาพ
สังเกต บันทึก สรุป รายงานการเปลี่ยนแปลง
การบริหารหอผู้ป่วย
การจัดหอผู้ป่วย
ความเป็นสัดส่วน (Privacy)จัดบริเวณและสิ่งแวดล้อมรอบเตียงให้มีพื้นที่ในการให้การพยาบาลได้สะดวกไม่เปิดเผยผู้ป่วย และญาติสามารถเยี่ยมได้ใกล้ชิด
ความปลอดภัย (safety) ต้องป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ มีไม้กั้นเตียง พื้นห้องน้ําไม่ลื่น มีราวจับ แสงสว่างเพียงพอ
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ (Infection control) ให้ถูกต้องตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ควบคุมเสียง (noise control) ไม่ให้มีเสียงดังรบกวนการพักผ่อนของผู้ป่วยหัวหน้าหอผู้ป่วยจะต้องจัดเตียงสําหรับผู้ป่วย
การจัดอัตรากําลัง
การพิจารณาประเภทและจํานวนของการพยาบาล
การตัดสินเลือกประเภทของบุคลากรที่จะสามารถให้การพยาบาลตามที่ต้องการ
การคํานวณหาจํานวนบุคลากรแต่ละประเภทการสรรหาบุคลากร
การคัดเลือกบุคลากร
การจัดเวลาการปฏิบัติงานตามที่บุคลากรต้องการ
การมอบหมายงานและความรับผิดชอบในการดูแลผู้ป่วย
การมอบหมายงาน
หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นผู้บริหารหารพยาบาลในระดับต้น ที่มีภารกิจหลักโดยตรงกับผู้ป่วย ในขณะเดียวกันต้อง
เชื่อมโยงกับงานระดับนโยบายจากฝ่ายการสู่ผู้ปฏิบัติ
การนิเทศงาน
ลักษณะการนิเทศที่เน้นพฤติกรรมผู้นิเทศ
ลักษณะการนิเทศที่เน้นจุดประสงค์การนิเทศ
ระบบการดูแลผู้ป่วย
ระบบการดูแลเป็นรายบุคคล (case method or total patient care)
2.ระบบการทํางานเป็นหน้าที่ (functional nursing)
3.ระบบการพยาบาลเป็นทีม (team nursing)
4.ระบบการพยาบาลแบบเจ้าของไข้ (primary nursing)
5.ระบบการจัดการด้านผู้ป่วย (Case Management)