Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะถุงน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด - Coggle Diagram
ภาวะถุงน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
ลักษณะเฉพาะ
ภาวะขาดออกซิเจน
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ความดันโลหิตต่ำอย่างทันทีทันใด
การป้องกัน
ขณะเจ็บครรภ์คลอด
ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
การหัดรัดตัวแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 60 วินาที
การหดรัดตัวระยะห่าง 2-3 นาที/ครั้ง
การเจาะถุงน้ำ ควรทำอย่างระมัดระวังไม่ให้ปากมดลูกเปิด
รายที่เด็กตายในครรภ์
ใช้ oxcytocin drip
ดูการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ไม่ควรเจาะถุงน้ำคร่ำก่อนปากมดลูกเปิด
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยการเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำ
รายที่มีภาวะรกเกาะต่ำ ควรตรวจภายในอย่างระมัดระวัง
รายงานแพทย์
ผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากเกินกำหนด
ผู้คลอดพักได้น้อย
ปัจจัยส่งเสริม
การใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน
การคลอดเฉียบพลัน
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
การบาดเจ็บในช่องท้อง
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มารดามีบุตรหลายคน
มารดาตั้งครรภ์ที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
น้ำคร่ำปนขี้เทา
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนคลอด
การหมุนเปลลี่ยนท่าทารกภายในครรภ์และภายนอกครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน เมือกของทารกหีือเซลล์จากรก
ชันสูตรศพ
เสมหะ
เลือดจากกระแสเลือดไปยังปอดของมารดา
การถ่าพรังสีทรวงอก
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอด อาจพบความกำซาบ
ตรวจหา Sialy 1TH antigen จะมีระดับสูงขึ้นในน้ำคร่ำปนขี้เทา
อาการและอาการแสดง
มีอาการหนาวสั่น
เหงื่อออกมมาก
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
หายใจลำบาก เขียวตามใบหน้าและลำตัว
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
ความดันโลหิตต่ำมาก
ชัก
หมดสติ และเสียชีวิตในเวลาต่อมา
หากเกิดอาการมากกว่า 1 ชม.
กลไกการเเข็งตัวของเลือดเสียไป
ตกเลือดอย่างรุนแรง
การวินิจฉัย
ระบบหายใจล้มเหลว
อาการเขียว
เส้นเลือดที่หัวในหดเกร็ง
เลือดออก
ไม่รู้สติ
การรักษา
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
จัดท่า Foeler's position
on oxygen 100%
ดูแลระบบไหลเวียนเลือด
ให้เลือด
ให้ยา dopamine
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก
oxytocin
methergin
ถ้าทารกยังไม่คลอด
ประเมิน FHS
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเร่งด่วน
เจาะเลือด ประเมินความเข้มข้นของเลือดและการเเข็งตัวชองเลือด
รักษาการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ โดยใช้ยา Ha]arin
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
เตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอดถ้าความดันโลหิตต่ำ
Norepinephrine
Epinephrine
Dopamine
ผลกระทบ
มารดา
เสียชีวิต
เสียเลือด
ช็อค
มีอาการทางระบบประสาท
ทารก
เสียชีวิต
มีอาการทางระบบประสาท
การพยาบาล
เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ชักเกร็งโยไม่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก่อน มีภาวะเขียวทั่วทั้งตัว หรือเริ่มเขียวบางส่วนของร่างกาย ปฏิบัติดังนี้
จัดท่า Fowler's position
ให้ออกซิเจน
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
เฝ้าระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
ช่วยเหลือการคลอดโดยใช้คีม หรือ ผ่าตัดทางหน้าท้อง
เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพในรายที่หัวใจล้มเหลว
ใช้เครื่องช่วยหายใจใน 2-3 วันแรก
ดูแลและให้กำลังใจครอบครัว ในกรณีมารดาและทารกเสียชีวิต