Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ท่าทาง posturing ของเด็กในภาวะไม่รู้ตัว
Decerebrate posturing
พบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
Decorticate posturing
พบในเด็กหมดสติที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน cerebral cortex อย่างรุนแรง
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะการทำงานของสมองที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าแม้ว่าสิ่งเร้านั้นจะรุนแรงหรือก่อให้เกิดความเจ็บปวดก็ตาม
ระดับความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัวดี (full consciousness)
ผู้ป่วยจะตื่นและรู้สึกตัวดีการรับรู้ต่อเวลาบุคคลและสถานที่เป็นปกติพฤติกรรมที่แสดงออกเหมาะสมกับวัยของเด็ก
ความรู้สึกสับสน (confusion)
ผู้ป่วยจะรู้สึก สับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation)
ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่ ระดับความ รู้สึกตัวเริ่มลดลง
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (lethargy / drowsy)
เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วงงุน พูดช้าและสับสน เมื่อกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าหรือปลุกผู้ป่วยจะสามารถโต้ตอบได้ตามปกติ แต่ถ้ากระตุ้นด้วยสิ่งเร้าแล้วผู้ป่วยไม่สามารถโต้ตอบได้ เรียกว่า obtundation
ระดับความรู้สึก stupor
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและกระตุ้นซ้ าๆ กันหลายครั้ง
ระดับหมดสติ (coma)
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่สามารถตอบสนองทั้งด้านการเคลื่อนไหวหรือทางวาจา ต่อสิ่งกระตุ้น ต่างๆ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจ ไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อ ติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ (CP : Cerebral palsy)
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic diplegia
Splastic quadriplegia
Splastic hemiplegia
Extrapyramidol cerebral palsy
Ataxia cerebral palsy
Mixed type
Meningitis
เป็นการอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆสมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
ชนิดของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
วัณโรค
เฉียบพลันจากไวรัส
การประเมินสภาพ
Meningeal Irritation
อาการและอาการแสดง
ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน
ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการคอแข็ง (Nuchal rigidity
มีอาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมองถูกรบกวนหรือทำลาย (คู่ที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8)
ตรวจพบ Kernig sign และBrudzinski sign ให้ผลบวก
อาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ความดันระหว่าง 75 – 180 มม.น้ำ(5 – 15 มม.ปรอท)
ค่าปกติของน้้ำไขสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml (1% ของ serum protein)
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml
Culture & Latex agglutination
คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml
Meningococcal Meningitis
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด (pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสำคัญ 2 อย่าง คือ Meningococcemia Meningitis
เชื้้อสาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การรักษา
Glucocorticoid therapy
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการ
วิธีการติดต่อ
ติดต่อจากคนไปสู่คนโดยเชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย(droplet) จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ (ผู้ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ) หรือผู้ป่วย โดยมีระยะฟักตัวประมาณ 2-10 วัน (เฉลี่ย 3-4 วัน)
เกิดโรคได้ 3 แบบ
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย เชื้อเจริญในเนโซฟาริ้งซ์
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis)
Epilebsy
ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุมีปัจจัยกระตุ้น
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ จากความผิดปกติของ Neurotransmission
ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ใน
กลุ่ม Symtomatic epilepsy
ทราบสาเหตุ ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
Ictal event หรือ Peri-ictal period ระยะที่เกิดอาการชัก
มีระยะเวลาตั้งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
เกิดในระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง มีส่วนน้อยที่ชักและดำเนินต่อเนื่องเป็น Status epilepticus
เกิดขึ้นเองแต่บางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
เกิดขึ้นทันทีทันใด
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ (Seizure prodromes) อาการบางอย่างที่นำมาก่อน มีอาการชัก อาจเกินนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก
อาการเตือน (Aura) ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกันตามตำแหน่งของสมอง
Postictal peroid คือ ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง
Postical paralysis หรือ Todd’s paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก
Interictal peroid คือ ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั้งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครั้งใหม่
ชนิดและกลุ่มอาการ
จำแนกตามลักษณะ
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures)
อาการชักเหม่อ (Absence)
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
กลุ่มอาการชักเหม่อแบบตรง (Typical absence seizures) ชักลักษณะเหม่อลอยไม่รู้สึกตัว
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures) ชักเกร็งกระตุก
ทั้งตัว ผู้ป่วยจะหมดสติ ร่วมกับมีอาการเกร็งกล้ามเนืhอทั้งตัว
อาการชักกระตุก (Clonic seizures) เป็นการชักมีลักษณะกระตุกเป็นจังหวะของอาการชัก
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures) เป็นการชักมีลักษณะเกร็งแข็งจากกล้ามเนื้อมีความตึงตัวมากขึ้น
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures) เป็นอาการชักที่มีการเสียความตึงตัวของกล้ามเนื ออย่างทันที
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures) การชักที่มีลักษณะ
สะดุ้ง มีการหดตัวของกล้ามเนื ออย่างรุนแรงและรวดเร็วมาก
Febrile Convulsion
การติดเชื้อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้ โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาทหรือความไม่สมดุลย์ของเกลือแร่
อาการ
เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้ มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี พบมากช่วงอายุ17 – 24 เดือน
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
อายุ โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
การประเมินสภาพ
ประเมินสภาพร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
มี 2 ชนิด
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
Complex febrile seizure
ภาวะไม่รู้สึกตัวและการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ : ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1ไม่มีไข้ นึกถึง Head Injury Brain Tumor Epilepsy
กรณีที่ 2 นึกถึงการติดเชื้อ
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 °c นึกถึง Febrile convulsion
Hydrocephalus
อาการและอาการแสดงทางคลินิก
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น สียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน (Suture separation)
การรักษา
IICP
รักษาเฉพาะ สาเหตุที่ทำให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก การอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
การรักษาเบื้องต้น จัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา เพื่อช่วยให้การไหลเวียนของน้ำไขสันหลังกลับสู่หลอดเลือดดำได้ดีขึ้น
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการสร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย ผ่าตัดใส่สายระบาย เช่น CSF Shunt
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด เช่น การ ติดเชื้้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
Poliomyelitis
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน ไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว
Congenital Spina bifida occulta
Meningocele Meningomyelocele
ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลาขาอ่อน แรงทั้งสองข้าง มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก
การรักษา spida bifida occulta ไม่จ าเป็นต้องรักษาแต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
การป้องกัน : ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
Spinal Bifida
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida cystica
Meningocele
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele
Spina bifida occulta
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง ออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่องนั้น พบบ่อยที่สุดที่บริเวณlumbosacrum