Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
นางสาววณิชญา เสงี่ยมวิบูล
เลขที่ 80…
บทที่ ๕
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
นางสาววณิชญา เสงี่ยมวิบูล
เลขที่ 80 (603101081)
สาเหตุของความขัดแย้ง
ผลประโยชน์ ผลประโยชน์มักจะเป็นสาเหตุของความขัดแย้งที่พบมากที่สุดไม่ว่าจะเป็นความขัดแย้งระหว่าง บุคคลหรือกลุ่มบุคคล
-
เป้าหมายการทำงาน เป้าหมายในการทำงานขององค์การกับเป้าหมาย
การทำงานของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลมีความแตกต่างกัน
-
การเปลี่ยนแปลง การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to change) เป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์ เพราะความไม่แน่ใจว่าสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นจะดีขึ้นกว่าเดิมหรือไม่
ผลกระทบของความขัดแย้ง
ผู้บริหารจะต้องดูแลควบคุมให้องค์กรมีความขัดแย้งในระดับที่เหมาะสม หากหน่วยงานมีความขัดแย้งอยู่ในระดับที่ เหมาะสม จะก่อให้เกิดผลดีต่อหน่วยงาน เช่น เพิ่มแรงจูงใจหรือความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน มีผลผลิตหรือผลงานดี แต่ถ้าหน่วยงานไม่มีความขัดแย้งหรือมีน้อยเกินไปก็จะทำให้ขาดความคิดใหม่ๆ หรือการทำงานขาดประสิทธิภาพ
-
การบริหารความขัดแย้ง
การประนีประนอม (Compromise) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยที่ต่างฝุายต่างได้เพียงบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น
การประสานประโยชน์ (Integrated Solution) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งที่เน้นความพอใจของ
ทั้งสองฝ่ายมากที่สุด เป็นการแก้ปัญหาที่ไม่มีการแพ้–ชนะ
การชนะ–แพ้ (Domination) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยวิธีการที่ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะอีกฝ่ายหนึ่ง เป็นการใช้อำนาจในการแก้ปัญหา
-
หมายถึง กระบวนการที่บุคคลระหว่าง ๒ คน หรือมากกว่าขึ้นไป มีการ ติดต่อสื่อสารกลับไปมาเพื่อหารือความต้องการ หรือผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันหรือบรรลุความ ต้องการและเป็นที่พอใจของทั้ง ๒ ฝ่าย
จุดประสงค์ของการเจรจาต่อรอง เพื่อขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น หรือข้อเสนอที่แตกต่างกันเพื่อให้ผู้เจรจาได้สิ่งที่ต้องการ ขณะเดียวกันก็ยังคงรักษา ความสัมพันธ์ที่ดีกับอีกฝ่ายหนึ่งได้ด้วย
-
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
การต่อรองแบบนุ่ม หมายความว่า ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็น มีความไว้ใจกัน มองคู่เจรจาเป็นมิตร และยอมตามเพื่อหลีกเลี่ยงการทะเลาะเบาะแว้ง
การต่อรองแบบแข็ง หมายความว่า ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก โดยไม่คำนึงถึงข้อเจรจาของฝุายตรงข้าม มองคู่เจรจาเป็นศัตรู เรียกร้องเพื่อต้องการเอาชนะฝ่ายเดียว
-
เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการคิดพิจารณา ไตร่ตรอง อย่างมีเหตุผล บนพื้นฐาน ของกฎเกณฑ์ เพื่อเลือกทางเลือกซึ่งมีอยู่หลายแนวทางที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ทรัพยากรบุคคล มีการสั่งการเพื่อนำไปปฏิบัติให้บรรลุผลตาม
เป้าหมายที่ต้องการ
ความสำคัญของการตัดสินใจ
-
-
-
ช่วยให้บุคคลเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในความสำเร็จของตนเองที่การตัดสินใจนั้นๆก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อ ผู้อื่นได้
-
-
ขอบเขตในการตัดสินใจ
การตัดสินใจโดยอาศัยขอบเขตตามระเบียบข้อบังคับ และกฎหมาย มีการกำหนดหน้าที่ ขอบเขตความรับผิดชอบ มอบหมายอำนาจหน้าที่ชัดเจน
ตามสายงานและสายการบังคับบัญชา
การตัดสินใจโดยอาศัยขอบเขตทางสังคม เป็นการอาศัยหลักทางคุณธรรม จริยธรรม ระบบค่านิยมและวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยึดถืออยู่
-
-
การวางแผน (Planning)
ลำดับงานที่จะทำ (The Sequence) หมายถึงการพิจารณางานที่มีความสำคัญ A ทั้งหมดก่อนว่า จะทำงาน ใดก่อนและหลัง
แผนสำรอง (Contingency Plans) หมายถึง การพิจารณาเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในระหว่าง การดำเนินตามแผนแล้วกำหนดเป็นแผนสำรองไว้
ทรัพยากรทางการบริหารที่ต้องการ (Resources Needed) หมายถึง การระบุทรัพยากรทางการบริหารอัน ได้แก่ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ
-
การติดตามผล (Follow – Up Required)การพิจารณาวิธีการติดตามผลเพื่อจะได้ทราบว่างานที่กำหนดไว้ ตามแผนนั้นได้ดำเนินไปตามแผนหรือไม่
-
-