Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท, นางสาวกัลยรัตน์ กลิ่นจำปา เลขที่ 5 ห้อง…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
แนวคิดสำคัญ
การควบคุมการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ความดันในช่องสมองผิดปกติ
ความไม่รู้สึกตัว
ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับความรู้สึกตัว
ความรู้สึกตัวดี
(full consciousness)
ตื่นและรู้สึกตัวดี
รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่
ความรู้สึกสับสน (confusion)
รู้สึกสับสน
มีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation)
ไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่
รู้สึกตัวเริ่มลดลง
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (lethargy / drowsy)
สามารถเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย
มีอาการง่วงงุน
พูดช้าและสับสน
ถ้ากระตุ้นด้วยสิ่งเร้าแล้ว ผู้ป่วยไม่สามารถโต้ตอบเรียกว่า obtundation
ระดับความรู้สึก stupor
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
หลับลึกแต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรง
ระดับหมดสติ (coma)
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ไม่สามารถตอบสนองทั้งด้านการเคลื่อนไหวหรือทางวาจา
ท่าทางของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing
เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย
งอแขนทั้ง 2 ข้าง เข้าหาตัวในระดับไหล่
กำมือแน่นและงอข้อมือทั้ง 2 ข้าง
ขาทั้ง 2 ข้าง เหยียดปลายเท้า
ออก และงอปลายเท้าเข้าหากัน
พบในเด็กหมดสติ
Decerebrate posturing
เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย
แขนขาทั้ง 2 ข้างเกร็ง
พบในเด็กหมดสติที่สมองส่วนMidbrain
แขนเหยียดออกและคว่ำแขนลงโดยบิดข้อมือออกด้านข้าง
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ
ช่วงหมดสติระดับลึกจะพบว่า reflexes ต่างๆ ของเด็กจะหายไป
ความบกพร่องของสติปัญญา
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
บทบาทของพยาบาลที่ดูแลเด็กที่มีความผิดปกติ
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การให้คำแนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กโรคระบบประสาท
การรวบรวมข้อมูลภาวะสุขภาพ
การประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว
การสื่อสารทางคำพูด
การเคลื่อนไหวและการทรงตัว
การลืมตาและรูม่านตา
การตรวจพิเศษต่าง ๆ
การตรวจน้ำไขสันหลัง
การตรวจคลื่นสมอง MRI
ภาวะชักจากไข้สูง
อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้
โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบ
ประสาทหรือความไม่สมดุลย์ของเกลือแร่
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
อายุ
โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สาเหตุ
ติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร
ทางเดินปัสสาวะ
ทางเดินหายใจ
อาการ
อุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
อาการชัก
เกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
เกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี
พบมากช่วงอายุ 17 – 24 เดือน
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
การชักเป็นแบบทั้งตัว
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้นๆ ไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำาในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
ระยะเวลาการชักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก
Phenobarbital
Valproic acid
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประเมินสภาพร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
โรคลมชัก
เกิดอาการชักซ้ำๆ อย่าง
น้อย 2 ครั้งขึ้นไป
อาการชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง
พบได้บ่อยในเด็กโรคระบบประสาท
อายุที่มีอุบัติการณ์บ่อยคือ 2-5 ปี
อัตราการเกิดพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลัง
โรคระบบประสาทร่วมกับความผิดปกติของผิวหนัง
โรคทางพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติของ Neurotransmission
เกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง
กลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ
อาการบางอย่างที่นำมาก่อน
อาจเกินนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก
ไม่มีอาการจำเพาะ
อาการเตือน
ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกัน
มีอาการปวด ชา
เห็นภาพหลอน
ระยะที่เกิดอาการชัก
เกิดขึ้นทันทีทันใด
เกิดในระยะเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
เกิดขึ้นเองแต่บางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
ส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง
ระยะนี้อาจเกิดนาน
หลายวินาทีถึงหลายวัน
ส่วนใหญ่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง
อาการ
สับสน อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะ
Postical paralysis
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism
การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก
พฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อไม่มีจุดประสงค์
กระพริบตาถี่ๆ
เคี้ยวปาก
ตีมือคว่ำหงายสลับกัน
ช่วงเวลาระหว่างการชัก
โดยทั่วไปจะไม่มีอาการแสดงใดๆ
อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิดและกลุ่มอาการ
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
ขณะชักผู้ป่วยรู้ตัวตลอดเวลา
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
ขณะชักจะสูญเสียการรับรู้สติ
การชักจะจำเหตุการณ์ในช่วงชักไม่ได้
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักแกร็งกระตุกทั้งตัว
กระจายไปยังส่วนที่อยู่ใกล้ต่อไปเรื่อย ๆ
อาการชักทั้งตัว
อาการชักเหม่อ
มีลักษณะเหม่อลอย
ไม่รู้สึกตัวชั่วครู่
เกิดขึ้นทันทีเป็นระยะเวลาสั้นๆ
อาการเกร็งกระตุก
ชักเกร็งกระตุกทั้งตัว
ผู้ป่วยจะหมดสติ ร่วมกับมีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั้งตัว
ไม่เกิน 30 วินาที
กล้ามเนื้อกระตุกเป็นจังหวะ นานประมาณ 1 – 2นาที
อาการชักกระตุก
ลักษณะกระตุก
อาการชักเกร็ง
ลักษณะเกร็งแข็ง
เกิดนานประมาณ 2 – 10 วินาที
อาจเกิดทันทีหรือค่อยเป็นไป
ผู้ป่วยไม่รู้สติ เสี่ยงต่ออันตรายขณะชัก
อาการชักตัวอ่อน
อาการชักที่มีการ
เสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันทีเมื่อเกิดอาการชัก
มักพบในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 5 ปี
อาการชักสะดุ้ง
ลักษณะสะดุ้ง
มีการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงและรวดเร็วมาก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง
ชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆ สมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
ส่วนมากพบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว
Neisseria meningitidis
Streptococcus peumoniae
Haemophilus influenzae
อุบัติการณ์
มักจะเกิดในช่วงหน้าหนาว
เกิดจากเชื้อ นิวโมคอคคัส
H. Influenzae และเมนิงโกคอคคัส
พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
ในเด็กอายุ
ระหว่าง 2 เดือน ถึง 7 ปี
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น
ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ
ชักและซึมลงจนหมดสติ
คอแข็ง
ตรวจพบ Kernig sign และ
Brudzinski sign ให้ผลบวก
ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
ชนิด
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
กลูโคสต่ำ
โปรตีนสูง
พีเอ็มเอ็น , มัก > 300/mm3
เฉียบพลันจากไวรัส
กลูโคสปกติ
โปรตีนปกติหรือสูง
โมโนนิวเคลียร์ , < 300/mm3
วัณโรค
กลูโคสต่ำ
โปรตีนสูง
โมโนนิวเคลียร์และ
พีเอ็มเอ็น, < 300/mm3
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
เชื้อสาเหตุ
Neisseria meningitides
เชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
รูปร่างกลมคล้ายเมล็ดถั่ว
ไม่สร้างสปอร์
การเก็บและส่งตรวจอย่างตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR
วิธีตรวจหาค่า (MIC)
วิธี seminested-PCR
ระยะติดต่อ
ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ)
และผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้
จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลายแล้ว
ปกติเชื้อจะหมดไปจากช่องโพรง
จมูกทางด้านหลังของผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมง
วิธีการติดต่อ
เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คน
เชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย
โดยมีระยะฟัก
ตัวประมาณ 2-10 วัน (เฉลี่ย 3-4 วัน)
เชื้อนี้ทำให้เกิดโรคได้ 3 แบบ
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย
เชื้อเจริญในเนโซฟาริ้งซ์
ทำให้เกิดการอักเสบ
เฉพาะที่เล็กน้อย
มักไม่มีอาการ
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ
เชื้อเข้าในกระแสเลือด
เลือดจะมาหล่อเลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดเป็นจำนวนมาก
ผู้ป่วยจะมีผื่น เลือดออกตามผิวหนัง
รายที่รุนแรงจะมีเลือดออกในลำไส้และต่อมหมวกไต
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เชื้อที่เข้าเยื่อหุ้มสมองทำให้เกิดอาการ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ไข้
ปวดศีรษะรุนแรง
อาเจียน คอแข็ง
อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือดขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย
อาจเกิดภาวะช็อกอย่าง
รวดเร็ว
Meningitis
มีอาการไข้
ปวดศีรษะ คอแข็ง
ซึมและสับสน
อาการจะแย่ ลงอย่างรวด
Meningococcemia
Acute Meningococcemia
อาการเกิดอย่างฉับพลัน
มีอาการปวดศีรษะ เจ็บ
คอและไอ
ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น
ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ
อาจมาด้วยไข้และมีผื่นแดงจ้ำขึ้นตามตัว
2-3 วันต่อมา จะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำจนเป็นสะเก็ดสีดำ
ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Chronic Meningococcemia
พบได้น้อย
ส่วนใหญ่มักมีไข้
ผื่นตามผิวหนัง
อาจเป็น ผื่นแดงจ้ำ
ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน
ไข้จะเป็นๆ หายๆ
Fulminant Meningococcemia
เป็นอย่างรุนแรง
ระบบไหลเวียนโลหิตไม่
ทำงาน อาจ ช็อคถึงเสียชีวิตได้
ส่วนมากเริ่มมี
อาการไข้สูงทันทีอ่อนเพลียมาก
มักจะไม่มีอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เพราะเป็นระยะสั้นๆ แล้ว
เสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
การรักษา
Glucocorticoid therapy
ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ
Ceftriaxone
PGS
Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
การป้องกันกับผู้สัมผัสโรค
ผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด
ผู้ป่วยต้องได้รับยาป้องกัน
ceftriaxone
ciprofloxacin
Rifampicin
บุคคลที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วยในบ้านเดียวกัน
การควบคุมป้องกันโรค
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคแก่ประชาชน
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับละอองน้ำมูก น้ำลาย
ไม่ควรเข้าไปอยู่ในที่แออัด
อากาศถ่ายเทไม่สะดวกเป็นเวลานาน
เพราะจะทำให้มีโอกาส
รับเชื้อจากผู้ที่เป็นพาหะได้ง่าย
ควรรักษาสุขภาพให้แข็งแรงโดยการออกกำลังกาย
หลีกเลี่ยงการทำงานหักโหมจนพักผ่อนไม่เพียงพอ
ใช้วัคซีนป้องกันโรค
Serogroups A, C, Y และ W135
ขณะนี้ยังไม่มีวัคซีนที่สามารถป้องกันการติดเชื้อ
ซีโรกรุ๊ป B
แนะนำให้ฉีดในกลุ่มเสี่ยงสูง
ผู้ที่อยู่หรือเข้าไปในพื้นที่ที่เกิดการระบาด
พิธีฮัจย์
กลุ่มทหาร
กลุ่มที่มีภูมิต้านทานต่ำ
นักท่องเที่ยวผู้ที่จะเดินทางไปในที่ที่มีการระบาดของโรคนี้
การรักษา
ยา penicillin
chloramphenical
โรคอุทกเศียร
น้้าไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง :
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด
ระหม่อมหน้าโป่ง
ศีรษะโตเพิ่มขึ้น
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม
อาเจียนพุ่ง
Congenital Hydrocephalus
ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus
ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus
ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง post meningitis
อาการแสดงทางคลินิก
หัวบาตร
หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้เนื่องจากCN 6TH Palsy มองเห็นภาพซ้อน
การหายใจผิดปกติ
รีเฟลกซ์ไวเกิน
การพัฒนาการช้ากว่าปกติ
สติปัญญาต่ำกว่าปกติ,ปัญญาอ่อน
เด็กเลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
ผ่าตัดใส่สายระบายจาก
โพรงสมองลงช่องหัวใจ
โพรงสมองลงช่องปอด
โพรงสมองลงช่องท้อง
โพรงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง
โพรงสมองทารกในครรภ์ลงถุงน้ำคร่ำ
สายระบายน้ำในโพรงสมอง (CSF Shunt)
3 ส่วน
วาล์ว(Valve)และส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง(Reservoir)
สายระบายลงช่องท้อง
สายระบายจากโพรงสมอง
โรคแทรกซ้อน
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ
ไตอักเสบ
การรักษา IICP
รักษาเฉพาะ
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP
เนื้องอก
การอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
การรักษาเบื้องต้น กรณีมีIICPสูงอย่างเฉียบพลัน
การจัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทอย่างรวดเร็ว
แพทย์จะรักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจ
การให้ยาขับปัสสาวะ ทางหลอดเลือดดำ
Furosemide
Osmotic diuritics
Corticosteroids
Hypothermia
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
Hydrocephalus
Communicating
Obstructive
ภาวะสมองบวม
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลังหรือที่หน้าผาก
ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง
ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีประวัติ
ไม่ได้รับวัคซีน
ไม่มีประวัติการคลอดในรพ
เป็นชนต่างด้าว
Spina Bifida
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง
มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ lumbosacrum
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches
ไม่รวมตัวกัน
เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง
เกิดบริเวณ L5 หรือ S1
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง
ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
มี 2 ชนิด
Meningocele
ก้อนหรือถุงน้ำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมอง
น้ำไขสันหลัง
ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
ไขสันหลังอยู่ต่ำแหน่งปกติ ไม่เกิดอัมพาต
Myelomeningocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา
ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง
อันตรายและเกิดความพิการ
ความรุนแรงขึ้นกับต่ำแหน่ง
พบระบบการขับถ่ายผิดปกติ
เท้าปุก การหดรั้งของข้อ สมองบวมน้ำ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
แขนขาอ่อนแรง
พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูกสันหลัง
การตรวจพิเศษ
การตรวจระดับ alpha fetoprotein
CT
ใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุง
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา
ชนิด Cystica ต้อง
ผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
เกร็งเมื่อกระตุ้น
หายใจไม่มีประสิทธิภาพ
ไม่รู้สึกตัว
การดูดกลืนบกพร่อง
พัฒนาการล่าช้า
สมองพิการ
ความบกพร่องของสมอง ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
ชนิดของสมองพิการ
Splastic
Splastic quadriplegia
คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic diplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
บังคับส่วนต่างๆของ
ร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย
กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย
ทรงตัวได้ไม่ดี สติปัญญาปกติ
Mixed type
หลายอย่างร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม
ชัก หูหนวก
ตาบอด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
เป็นหัดเยอรมัน
คลอดท่าก้น
เด็กมีพัฒนาการช้ากว่าวัย
ตัวเกร็งแข็ง
ประเมินร่างกาย
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น
ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
พัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
นางสาวกัลยรัตน์ กลิ่นจำปา เลขที่ 5 ห้อง B รหัสนักศึกษา 613601113