Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคออทิสติก (Autistic Disorders), * ระดับอาการของ [Autistic], สมองเด็ก…
โรคออทิสติก
(Autistic Disorders)
ความหมาย
เป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมถึงความบกพร่อง
การสื่อความหมายและภาษา
พฤติกรรมการกระทำและความสนใจซ้ำๆ
ด้านสังคม
อยใู่นกลุ่ม “Pervasive Developmental Disorders - PDDs”
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ 30 %
ปัจจัยทางสังคม 20 %
การเลี้ยงดู ความผิดปกติทางจิตของผู้เลี้ยงดู
ครอบครัวยากจน แตกแยก ถูกทอดทิ้ง
ปัจจัยทางชีวภาพ 50 %
ปัจจัยของมารดาขณะตั้งครรภ์ คลอดหรือหลังคลอด
ปัจจัยโครงสร้างทางสมอง
Cerebellum
ควบคุมการเคลื่อนไหวจำนวน cell ลดลงช่องว่างระหว่าง cell มาก
Limbic system
Hippocompus
ทำหน้าที่ควบคุม ความจำ อารมณ์ การเรียนรู้ และแรงจูงใจ
(cell เล็กและเบียดแน่น)
ปัจจัยทางภูมิคุ้มกัน (Immunology factor) ต่ำ
ปัจจัยทางพันธุกรรม (Genetic factor)
ปัจจัยทางสื่อประสาท (Neurotransmitter factor) สูง
Endorphin : ยับยั้งการเติบโตของระบบประสาท
ทำให้อยู่ไม่นิ่งกระทำซ้ำๆ ขาดความสนใจ ก้าวร้าว
Homovanillic acid (HVA) ในน้้ำไขสันหลังเพิ่มขึ้น มีระดับทำให้เกิดภาวะทำร้ายร่างกายตนเองซ้ำๆ
Serotonin : ควบคุมอารมณ์พฤติกรรมทางสังคม
ระบาดวิทยา
4-5 : 10,000 ตามเกณฑ์การวินิจฉัย DSM IV
21 : 10,000 ตามการวินิจฉัยแบบ Autistic Spectrum
ดช. > ดญ. 4 เท่า
ดญ.มีความรุนแรง > ดช.
มีโอกาสเกิดโรคในพี่น้องร้อยละ 3-7
อาการและอาการแสดง
การสื่อสารผิดปกติ
พูดไม่เป็นภาษา สื่อสารไม่ได้
พูดซ้ำ จำภาษาได้น้อย
พูดช้า ไม่พูด
ไม่มีการเล่นสมมติ เล่นตามจินตนาการไม่ได้
การเข้าสังคมผิดปกติ
ไม่อยากเข้าร่วมกลุ่มกับผู้อื่น หรือสิ่งที่หน้าสนใจ
ไม่มีอารมณ์หรือสัมพันธภาพกับสังคม
ไม่สบตา ไม่แสดงสีหน้า ไม่แสดงกิริยา ท่าทางเข้าสังคม
ไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนอย่างเหมาะสม
พฤติกรรม่การกระทำ สนใจสิ่งเดิมซ้ำๆ
ปฏิบัติกิจวัตร ความท้าทายบางอย่างไม่ได้ ไม่สามารถยืดหยุ่น
ทำท่าทางเดิมๆ เช่น สะบัดมือ หมุนตัว โยกตัว
หมกมุ่นกับพฤติกรรมซ้ำๆ (Stereotyped)
มองวัตุเพียงบางส่วนที่หมุน เช่นใบพัดที่หมุน
คำแนะนำ สำหรับผู้ปกครอง
เล่านิทาน พูดคุย
พูดช้าๆ ชัดๆ
ให้ลูกได้เรียนรู้การออกเสียง
ฝึกการโต้ตอบ พูดคุย
วันละ 30-60 นาที
ชวนเล่นของเล่น
เสริมสร้าง กาย จิต สมอง ฝึกสมาธิ
ลดเวลาหน้าจอ
หันเหความสนใจ
ชวนลูกทำกิจกรรมต่างๆแทนการดูทีวี เล่นแท็บเล็ต
การตรวจเพื่อวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
การสังเกตุพฤติกรรม
ตรวจพิเศษ
ตรวจสารเคมีในร่างกาย
ตรวจคลื่นสมอง
ตรวจพัฒนาการ
แบบประเมินภาวะคัดกรอง
เครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึมในระยะเริ่มแรกสำหรับเด็กไทย
(Thai Diagnostic Autism Scale; TDAS)
ใช้สำหรับเด็กอายุ 12 - 48 เดือน
แบบคัดกรองโรคในกลุ่มพัฒนาการผิดปกตอิย่างรนุแรง
(Pervasive Developmental Disorders Screening Questionnaire: PDDSQ)
ใช้สำหรับเด็กอายุ 1-18 ปี
ซักประวัติ
ครอบครัว
เจ็บป่วยในอดีต
พัฒนาการร่างกาย ภาษา สังคม
การแสดงออกทางพฤติกรรม
การเลี้ยงดู
ความผิดปกติของการเคลื่อนไหว
การตั้งครรภ์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเป็นอย่างไร
แสดงออกทางอารมณ์ เกี่ยวกับสิ่งที่พอใจหรือไม่พอใจเป็นอย่างไร
ตรวจสุขภาพจิต
การรักษา
วิธีการ
ยา
ยาคลายกังวล
ลดความวิตกกังวลและมีส่วนช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย
ยาต้านโรคจิต
รักษาพฤติกรรมก้าวร้าว ทำร้ายตนเองและผู้อื่น ซน อยู่ไม่นิ่ง ใช้ร่วมกับยากันชัก
Risperidone, Chlorpromazine, Theoridazine และ Haloperidol
ยาต้านเศร้า
ใช้กรณีมีอาการซึมเศร้า
Fluoxetine, Fluvoxamine, Sertraline และ Clomipramine
ยาในกลุ่มอื่นๆ
วิตามินบี 6
ยากันชัก
กิจกรรมบำบัด
(ในรายที่มีปัญหาด้านการสัมผัสจนเกิดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์)
การฝึกพูดหรือแก้ไขการพูด
พฤติกรรมบำบัด
ส่งเสริมพัฒนาการ
การดูแลครอบครัวของเด็กออทิสติก โดยเฉพาะด้านความเครียด
ช่วยกระตุ้นให้ใกล้เคียงเด็กปกติ ใช้ชีวิตได้จริง
ไม่สามารถรักษาให้หายได้
การฝึกแต่ละครั้งประมาณ 6-8 ชั่วโมง 5-7 วันต่อสัปดาห์
หรือฝึก 15 ชั่วโมงใน 1 สัปดาห์ และฝึกอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ปี
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่องเนื่องจากมีความผิดปกติของสมอง/ไม่มีความไว้วางใจ/ขาดการดูแล
มีความบกพร่องของการสื่อภาษาเนื่องจากการแยกตัว/ไม่ได้รับการกระตุ้น/มีความผิดปกติของสมอง
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองเนื่องจากมีความผิดปกติของสมอง
ไม่รู้จักตนเองเนื่องจากขาดการดูแล/ได้รับการกระตุ้น
การรับรู้ไม่เพียงพอ/มีพัฒนาการล่าช้า
เสี่ยงต่ออันตราย บาดเจ็บเนื่องจากพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง
การวินิจฉัย ตาม DSM-V
ประเภท
Childhood disintegrative Disorder
Rett’s disorder
Asperger’s disorder
PDD not Otherwise Specified
Autistic disorder
เกณฑ์
ฺB.
มีความช้าหรือผิดปกติในด้านต่างๆ
ก่อนอายุ 3 ปี
คำถาม
ภาษาที่ใช้
การจิตนการ
ปฏิสัมพันธ์กับสังคม
C.
คำถาม
ไม่สามารถชี้นิ้วบอกความต้องการได้
ไม่สนใจเข้ากลุ่ม หรือเล่นกับเด็กคนอื่น
เล่นสมมติ จินตนาการไม่เป็น
ไม่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความสนใจร่วมกับคนอื่นได้
ความผิดปกติไม่เข้ากับ
Rett's disorder หรือ Childhood disintegrative disorder
ในเด็กอายุ 18 เดือนขึ้นไป
A.
คำถาม
ลักษณะในการสื่อสารผิดปกติ
1.ลักษณะในการเข้าสังคมที่ผิดปกติ
มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมที่จำกัด/ทำซ้ำ และรักษาเป็นเช่นเดิม
เข้าเกณฑ์ตอ่ไปนี้ ≥ 6 ข้อ จากหัวข้อ 1 2 3
โดยต้อง ≥ 2 ข้อ จากหัวข้อ 1
และจากหัวข้อ 2 3 อีกหัวข้อละ 1 ข้อ
การพยาบาล
การเล่นเพื่อการบำบัด
พฤติกรรมบำบัด
กระตุ้นพัฒนาการ
ครอบครัวบำบัด
ดูแลความปลอดภัย
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อบำบัด
ประเมินภาวะสุขภาพ
โภชนาการบำบัด
การสอนทางสุขภาพ
*
ระดับอาการของ [Autistic]
Mild Autism
Severe Autism
Moderate Autism
สัญญาณเตือน!!!
ไม่ชี้นิ้ว
ไม่สบตา
ไม่พาที