Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อพิจารณาการตั้ง ร้อย. ตสร. - Coggle Diagram
ข้อพิจารณาการตั้ง ร้อย. ตสร.
ด้านการควบคุมบังคับบัญชา
ช่วงการบังคับบัญชา
ภาระการบังคับบัญชาของทั้งกองพัน และกรม ไม่เพิ่มขึ้น (จำนวนหน่วยมีเท่าเดิม)
สายการบังคับบัญชา
ในการเตรียมกำลัง กรม บังคับบัญชา ร้อย.ตสร. ผ่านกองพัน เหมือน ร้อย.รพศ.
ภาระงานของ กรม ในขั้นปกติไม่เพิ่มขี้นมากนัก
พัน.1 ต้องกำกับดูแล ร้อย.ตสร.ซึ่งเป็นงานนโยบาย
ด้านการบริหารจัดการกำลังพล
ความก้าวหน้า
ผ่องถ่ายได้ในกองพันเป็นหลัก
อัตรากำลังเท่าเดิม จากการปรับ อจย.
การบริหารจัดการค่าตอบแทน
ดำเนินการภายในกองพันเป็นหลัก
ด้านยุทธการ
การเตรียมกำลัง
กรม ควบคุมคุณภาพการเตรียมกำลัง ร้อย.ตสร. ผ่าน พัน.รพศ.
สายการกำกับดูแลยาวกว่า
องค์ความรู้จะอยู่กับ กองพัน1
ฝยก. กองพัน เป็นฝ่ายอำนวยการหลัก ในการเตรียมกำลัง
ฝยก. พัน.1 มีภาระงานมากกว่า ฝยก.พัน.2
การฝึกตามวงรอบ การฝึกพิเศษ พัน.1 เพิ่มมากขึ้น
ความพร้อมของ ฝยก. พัน. น้อยกว่า ฝยก.กรม
หมุนเวียน เพิ่มขีดความสามารถ
ทำในกองพันเป็นหลัก
ขีดความสามารถ มีในพัน.1 เป็นหลัก
การใช้กำลัง
กรมสามารถสั่งการให้ ร้อย ตสร.ขึ้นการบังคับบัญชากับ กรมได้
ฝอ.ของกรม อาจจะไม่มีความพร้อม ละความเข้าใจในการใช้กำลัง
พัน.1 ขีดความสามารถ ลดลง
ขีดความสามารถของ พัน.รพศ. ไม่เท่ากัน
ข้อพิจารณาในการใช้กำลัง ตามแผนป้องกันประเทศ ในทุกขั้นยากขึ้น
ไม่สามารถทดแทนกันได้
ด้านการสนับสนุน
ยุทโธปกรณ์
ยุทโธปกรณ์แตกต่างกัน
มีความลำบากในการส่งกำลัง
กองพันมีขีดความสามารถในการสนับสนุนต่ำกว่า กรม
สป. กองพัน สนับสนุนได้ดีกว่า กรม
อาคารสถานที่
ไม่ต้องสร้างอาคารเพิ่ม