Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวกาญจนา ลาวัล เลขที่ 60…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะหลังคลอด
ให้คำแนะนำในการดูแลบุตร
ตอบสนองความต้องการของมารดา
Rooming in โดยเร็วที่สุด
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
ส่งเสริมให้มารดาโอบกอดทารกทันทีหลังคลอดในระยะ ( Sensitive perriod)
ให้มารดา บิดา ทารกได้อยู้ด้วยกันตามลำพัง
เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
ระยะคลอด
ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
ให้ข้อมูล เป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
ระยะตั้งครรภ์
ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
การปรับบทบาทการเป็นบิดามารดา
ยอมรับการตั้งครรภ์
ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
Bฺonding ( ความผูกพัน )
หมายถึง กระบวนการความผูกพันทางอารมณ์ที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีต่อทารกฝ่ายเดียว
การสร้างสัมพันธภาพในระยะหลังคลอด
ในระยะแรกหลังคลอดทันที มารดาจะแสดงความรักและความผูกพันธ์กับลูก ตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอดจนกระทั่ง 1 ชั่วโมงแรกหลัง คลอด เป็นช่วงเวลาที่มารดาความรู้สึกไวที่สุด ( Sensitive perriod)
Attachment (สัมพันธภาพ)
หมายถึง ความรู้สึกรักใครผูกพันธ์ระหว่างทารกกับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู
กระบวนการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก มีการพัฒนา ตามลับดับ 9 ขั้นตอน
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 1 การวางแผนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ขั้นที่ 3 การยอมรับการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 4 การรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ขั้นที่ 2 การยืนยันการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 5 การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุตรคนหนึ่ง
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ขั้นที่ 7 การมองดูทารก
ขั้นที่ 8 การสัมผัสทารก
ขั้นที่ 6 การสนใจดูแลสุขภาพตนเองและทารกในครรภ์และการแสวงหาการคลอดที่ปลอดภัย
ขั้นที่ 9 การดูแลทารกและการให้ดูดนม
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารกในระยะแรกเกิด
2.การประสานสายตา (Eye to eye contact) เป็นสื่อที่สำคัญ ต่อการเริ่มต้นพัฒนาการด้าน ความเชื่ดมั่นความไวว้างใจและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
9.การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ(Bacterianasalflora)
1.สัมพันธภาพ (Touch, Tactile sense) พฤติกรรมสำคัญที่จะผูก พันมารดาและบุตร คือ ความสนใจของมารดาในการสัมผัสบุตร
4.การเคลี่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด (Entrainment)ทารกจะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ขดงร่างกายเป็นจังหวะสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา
3.การใช้เสียง(Voice)การตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด
5.จังหวะชีวภาพ(Biorhythmcity) ทารกร้องไห้มารดาอุ้มทารกไว้แนบอก ทารกจะรับรู้เสียงการเต้นของหัวใจซึ่งทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์
7.การให้ความอบอุ่น(BodywarmthหรือHeat) ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน
การรับกลิ่น (Odor) มารดาจำกลิ่นกายของทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B lymphocyte) ทารกจะได้ภูมิคุ้มกันในนมแม่
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
2.พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
3.ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
1.ความสนใจในการดูแลตนเองและทารก
4.ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของทารก
นางสาวกาญจนา ลาวัล เลขที่ 60 ห้อง A