Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, image - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
พยาธิสภาพ
เจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง เจริญไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ทำให้ข้อคดงอ
ในรายที่ไม่ทราบสาเหตุ กระดูกแต่ละชิ้นจะเอียงตัวโค้งและหมุนกระดูกซี่่โครงด้านโค้งออก (Convex) โป่งนูนไปด้านหลัง สำหรับกระดูกซี่โครงด้านเว้า (Concave) เข้ารวมตัวกันและหมุนไปด้านหน้า
ในรายที่รุนแรง ทำให้ทรวงอกผิดปกติกระทบต่อการทำงานของหัวใจและปอด สรรถภาพการทำงานของอวัยวะทั้งสองลดลง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
ตรวจร่างกาย
สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้ำหนักตัวแนวลำตัว
ตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษ
X-Ray
อาการแสดง
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
อาการเมื่ออายุน้อย มีความพิการมาก กระดูกสันหลังส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่า
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่สมมาตรกัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
กระดูกสันหลังคดไปด้านข้าง ระดูกสะบักสองข้างไม่าเท่ากัน ไม่อยู่ในระดับเดียวกัน
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม
บริหารร่างกาย
กายภาพบำบัด
ผ่าตัด
แก้ไขแนวตรง รักษาระดับไหล่และสะโพก
การพยาบาล
ก่อนและหลังผ่าตัด
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค โดยใช้คู่มือ วีดิทัศน์
อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน (Logrolling)
แนะนำให้รายงานอาการผิดปกติหลังผ่าตัด เช่นอาการปวด ชา สูญเสียความรู้สึก
สอนและสาธิตการไอ หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำการใช้หม้อนอน รับประทานและดื่มบนเตียง
อธิบายให้ทราบหลังผ่าตัดต้องนอนบนเตียงประมาณ 2 wks. หลังจากนั้นใส่เฝือก แล้วเดินเองได้
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัด
สังเกตและประเมินความปวด
จัดท่าให้นอนราบ หมอนรองใต้เข่า นอนตะแคงใช้หมอนรองใต้ขาบน
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา ถ้าไม่ได้ผลให้รายงานแพทย์
ป้องกันการติดเชื้อและการเกิดแผลกดทับ
ประเมินอาการบวม แดง ชา น้ำเหลืองซึม แผลเปิดไม่ได้
ให้ยาปฏิชีวนะและยาลดไข้ตามแผนการรักษา
สังเกตอาการข้างเคียง ถ้าพบความผิดปกติต้องรายงานแพทย์
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
คลำพบกล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง
ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง
ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมบูรณ์
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย ซักประวติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
ให้เด็กหันศีรษะเอง
ให้หันหน้าด้านที่คอเอียง เช่นการให้นม หาวัตถุล่อให้มองตามสิ่งของ
ใช้อุปกรณ์ช่วยพยุง
ปรับตำแหน่งศีรษะ
วิธีดัด
จัดท่านอนหงาย หรือหันหน้าให้คางสัมผัสกับไหล่ข้างที่กล้ามเนื้อหดสั้น
การผ่าตัด
ในช่วงอายุ 1-4 ปี จะได้ผลดีที่สุด
ผ่าตัด bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อ
พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิด
ช่วงอายุ 3 เดือน
ชันคอ ยกศีรษะ เมื่อนอนคว่ำทำเสียงอือ อา ในลำคอ
ช่วงอายุ 4 เดือน
พลิกตะแคงตัวได้ หันตามเสียง กางมือออกแล้วกำของเล่นได้
ช่วงอายุ 6 เดือน
นั่งทรงตัวได้นาน สนใจฟังคนพูด จ้องมองหน้า ร้องไห้เมื่อเห็นคนแปลกหน้า
ช่วงอายุ 12 เดือน
เดินโดยใช้มือจูงมือเด็กทั้ง 2 ข้าง ค้นหาของเล่นที่ซ่อนไว้ ดื่มน้ำจากถ้วยแก้วหรือขันเล็ก
ช่วงอายุ 15 เดือน
คว่ำขวดเทเพื่อเอาขนมหรือของเล่นในถาด พูดคำที่มีความหมายอย่างน้อย 4 คำ
ช่วงอายุ 18 เดือน
เดินข้ามหรือหลบสิ่งกีดขว้าง ชี้ร่างกายได้ 4-5 ส่วน
ช่วงอายุ 2 ปี
ชี้อวัยวะร่างกายได้ 10 อย่าง บอกได้เมื่อต้องการขับถ่าย กระโดด 2 ขาพร้อมกันโดยที่ไม่ต้องช่วย
ช่วงอายุ 3 ปี
เดินเขย่งปลายเท้าได้ 3 เมตร เลือกของที่มีขนาดใหญ่หรือเล็กกว่า ถอดเสื้อผ้าเองได้
ช่วงอายุ 4 ปี
กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้ 2-3 ครั้ง ใช้นิ้วหัวแม่มือแตะได้ ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆรอบตัว
ช่วงอายุ 5 ปี
ก้มลงเก็บของที่พื้นขณะวิ่งได้ จับดินสอด้วยท่าทางที่ถูกต้อง เล่าได้ว่าวันนี้ทำอะไรมาบ้าง
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
กระดูกหัก : กระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
ข้อเคลื่อน : ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า
ลักษณะ
แผ่นเติบโต (growth Plate) : มีความอ่อนแอกว่าเอ็น
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) : มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) : สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
เปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes) : ใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่น อาจเกิดภาวะ Volkman’s ischemic contracture
สาเหตุ
ได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
การกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้น
กระดูกฝ่ามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
อาการและอาการแสดง
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
ปวดและกดเจ็บ
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
ตรวจร่างกาย
ดูลักษณะของกระดูกหัก ชนิดที่มีบาดแผล
ลักษณะของข้อเคลื่อน 2 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออก
จากกันโดยตลอด และข้อที่เคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อย
ตรวจทางรังสี
ซักประวัติ
หลักการรักษา
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด โดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม หรือผ้าพันยืด
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการและอาการแสดง
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา พันนาน 10-14 วัน
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2 - 3 wks.
ในทารกแรกเกิด เกิดในรายที่คลอดติดไหล่
ส่วนในเด็กโต เกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่าย
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemic contracture ”
หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plastersplint ประมาณ 1 wk. เมื่อยุบบวมเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 wk.
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส pulled elbow
เคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
เกิดจาการหยอล่อ
กระดูกปลายแขนหัก
เกิดจากการกระท าทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก (fracture of femur)
ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา ปวดบริเวณข้างที่หัก บวมตรงต้าแหน่งกระดูก
แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 wk.
ถ้าอายุมากกว่า 3 ปีแก้ไขโดยท า Russel’s traction
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาด้วยวิธี Gallow’s หรือ Bryant’s traction
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
เป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสันหลังส่วน ventral rami
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอด
ติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย
สังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ส่วนใหญ่มีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องผ่าตัด
การพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง
ดึงกระดูก( traction)
Bryant’s traction : ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้ำหนักไม่เกิน 13 kg
Over Head traction : ข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว
Dunlop’s traction : อาการบวมมาก เพื่อดึงให้ยุบบวม
Skin traction : แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peronealnerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction : เกิดปัญหา sling ที่คล้องใต้ขาไปกด
เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)