Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน(Ricket)
พบมากในเด็กอายุ6เดือน-3ปี จากการขาดวิตตามินดี ทำให้เกิดความผิดของเนื้อกระดูก ทำมห้กระดูกหักง่าย ผิดรูปที่ผลต่อการพัฒนาการเด็ก
ความหมาย
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องของการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญVit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasis) จากการขาดAlkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวสำคัญที่ทำให้เกิดการจับเกาะของเกลือแร่
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็กความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย อ่อนแรง หลังแอ่น ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป ได้แก่ กระโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกระโหลกแบนราบ หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง หลังหนึ่งขวบแล้วจะมีความผิดปกติมากขึ้น ขาโก่ง ขาฉิ่ง หลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ดอาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคอง
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วย/วัน/น้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างกระดูก
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูกและข้อในเด็กถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องอาจทำให้เกิดความพิการได้
Definite ติดเชื้อในกระดูกอย่างแน่นอน
Probable การติดเชื้อในเลือด
Likely ลักษณะทางคลินิกและภาพถ่ายรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อที่กระดูกตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะ
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
อุณหภูมิร่างกาย>38.3องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทางsystemicโดยไม่พบพยาธิอื่นร่วม
ตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะ
Osteomtelitis
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี มีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากอวัยวะใกล้เคียง การะแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีอาการปวด ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ร่วมด้วย
การตรวจร่างกาย
ปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis,ESR,CRPมีค่าสูง ผล Gram stain และ Culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
Bฺone scan ได้ผลบวก บอกตำแหน่งเฉพาะได้
MRI พบ soft tissue abcess มีค่าใช้จ่ายสูงในเด็กเล็กๆ ต้องทำตอนเด็กหลับ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ Physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ทำลาย physea plate ยับยั้งการเจริยเติบโตขอกระดูกตามยาว ทำมห้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการโก่งผิดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกให้ยาวขึ้น
ข้ออักเสบติดเชื้อ (Septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง จากการแพร่กระจายเชื้อโรคจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ
ผลlab เจาะดูดน้ำในข้อ
การตรวจรังสี
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate
ข้อเคลื่อน
ข้อถูกทำลาย
หัวข้อกระดุกสะโพกตายจากการขาดเลือด
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็ก วัณโรคปอด วัณโรคกระดูกสันหลัง ตำแหน่งที่พบบ่อย ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อMycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดการหายใจ จากการไอจามของผู้ป่วย เชื้อแพร่กระจายทาง lympho-hematogenous spread ยังอวัยวะต่างๆ และจะถูกภูมิต้านทานของร่างกายทำลายแต่อาจมีเชื้อบางส่วนที่อยู่ตามอวัยวะ
อาการและอาการแสดง
1-3ปีที่กระดูกรอยโรคเริ่มที่metaphysis ของ long bone มีเลือดมาเลี้ยงมาก อาจเป็นตำแหน่งเดียวหรือมากกว่า กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้น กระดูกจะบางลง จะทำลายกระดูกอ่อนของผิวข้อ ที่กระดูกสันหลังเชื้อจะเข้าทางท่อน้ำเหลือง ท่อน้ำเหลืองจากกระดูกที่ติดเชื้อใกล้เคียง เชื้อจะทำลายกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลียน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรค ปวดข้อ ปวดหลัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก CRP , ESR สูง มดสอบ ruberculin test ผล+
การตรวจรังสี
plaint flim
MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ ผ่าตัดระบายหนอง
อาการแทรกซ้อน
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการประสาทไขสันหลัง เป็นอัมพาต
Club foot (เท้าปุก)
มีลักษณะเท้าจิกลง ส้นเท้าบิดเข้าใน เท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน
สาเหตุ
อาจเกิดจากgeneและปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ การติดเชื้อในครรภ์
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเนื้อเยื่อต้นแบบของกระดูกเท้าผิดปกติ รูปร่างกระดูกและขนาดผิดรูปไปจากเท้าปกติ โดยเฉพาะกระดูก talus calcaneus navicular cuboid bone
การวินิจฉัย
ตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะคำจำกัดความ "เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน"
Positional clubfoot บิดรูปไม่มากนัก
idiopatic clubfoot ไม่สามารถหายได้เอง
การรักษา
ทำให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงปกติมากที่สุด
สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน้ำหนักได้
เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติและสามารถใช้เท้าได้โดยไม่เจ็บปวด
การดัดการใส่เฝือก
การผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ
การผ่าตัดกระดูก
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการ
ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยอาจมีตาปลา
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่รุนแรงผู้ป่วยจะปวดน่อง เข่า สะโพก
สาเหตุ
เป็นกรรมพันธุ์
เกิดจากการเดินผิดปกติเช่นการเดินแบบเป็ด
เอ็นข้อเท้ามีการฉีกขาด
เกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ใส่รองเท้าที่มีขนาดที่พอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตนเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ultrasoundเพื่อบรรเทาอาการปวด
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง เด็กจะมีความเคลื่อนไหวร่างกายผิดปกติรวมถึงการทรงตัว มักมีปัญหาในการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ การพูดคุย กสนกินและอาจจะมีปัญหาการควบคุมลมหายใจ
สาเหตุ
ก่อนคลอด
ติดเชื้อ
มารดาเป็นดโรคแทรกซ้อน ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดกับมารดา
ระหว่างคลอด/หลังคลอด
คลอดยาก สมองกระทบกระเทือน ขาดออกซิเจน คลอดก่อนกำหนด
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหวได้4ประเภท
Spastic CP
Ataxic CP
Athetoid CP
Mixed CP
การรักษา
ป้องกันความผิดปกติของข้อต่างๆ
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีด เฉพาะที่ กลุ่ม Botox
การผ่าตัด
การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ
การรักษาด้านอื่นๆ
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งผิดปกติ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Omphalocele
ความผิดปกติแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง มีการสร้างไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป
การรักษา
Conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ เหมาะสำหรับรายที่ Omphalocele ขนาดใหญ่
Operative
ผ่าตัด
เย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
ปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน
Gastroschisis การมีผนังหน้าท้องแยกจากกัน
การดูแลรักษา การคลอดและการนำส่งโรงพยาบาล
ผ้าอุ่นหรือกระเป๋าน้ำร้อน
ประเมินการหายใจ
ใส่orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วยNSSอุ่น
ตรวจระดับน้ำตาล
เจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมการจองเลือด