Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมดลูกปลิ้น (Inversion of the uterus or uterine inversion) - Coggle…
ภาวะมดลูกปลิ้น (Inversion of the uterus or uterine inversion)
อุบัติการณ์
อัตราการเกิดมดลูกปลิ้นพบได้ประมาณ 1:2,000 ของารคลอด เกือบทั้งหมดเกิดจากดึงสายสะดือในการช่วยทำคลอดรก
ชนิดของมดลูกปลิ้น
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ (complete inversion)
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่องคลอด
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete inversion)
พยาธิ
เมื่อเกิดการปลิ้นของมดลูกภายหลังทารกคลอดหรือภายหลังคลอดรกกแล้ว ปากมดลูกและมดลูกส่วนล่างจะมีการหดรัดตัวเป็นวงแหวนล้อมรอบส่วนของมดลูกที่หย่อนตัวลงมา ทำให้บริเวณที่กถูกกรัดไว้นั้นขาดเลือดไปเลี้ยงเกิดการบวมและมีเนื้อตาย ในที่สุดเนื้อตายนั้นจะหลุดออกมา
สาเหตุ
ดันยอดมดลูกที่หน้าท้องมารดามากเกินไป ในการช่วยทำคลอดรก
มดลูกและปากมดลูกอยู่ในภาวะคลายตัว
ทำคลอดรกในขณะที่รกยังไม่ลอกตัว หรือรกเกาะเเน่น
การดึงสายสะดือแรงเกินไป
สาเหตุส่งเสริม
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
ผนังมดลูกหย่อน พบมดลูกปลิ้นภายหลังคลอดที่มีความดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในขณะที่มดลูกคลายตัว
รกเกาะบริเวณส่วนยอดของมดลูก
อาการและอาการแสดง
มีอาการช็อคจากการปวด และเสียเลือดมาก
การตรวจหน้าท้องในรายที่เป็นมดลูกปลิ้นชนิดไม่สมบูรณ์ จะพบว่ายอดมดลูกเป็นแอ่ง หรือคล้ายปล่องภูเขาไฟ ในรายที่มดลูกปลิ้นสมบูรณ์ จะคลำไม่พบยอดมดลูก
มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง ถ้ารกไม่ลอกตัว หรือรกติดแน่น
การตรวจภายใน จะคลำได้ก้อนเนื้อบริเวณปาดมดลูก หรือคลำได้ก้อนในช่องคลอดหรือก้อนโผล่ออกมานอกช่องคลอด
มีเลือดออกมาทันทีภายหลังคลอดในกรณีที่รกคลอดแล้ว
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เกิดภาวะแทรกซ้อนจาภาวะมดลูกปลิ้น
ต่อทารก
ทำให้ทารกได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
สร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
การรักษา
ให้การรักษาสภาพทั่วไป
ดันมดลูกกลับภายใต้การดมยาสลบ โดยใช้ฮาโลเธน
การป้องกันสิ่งที่สำคัญที่สุด
การตรวจภายในหลังจากทำคลอดรก
หลังการเย็บแผลสามารถประเมินสภาพได้รวดเร็ว
การช่วยเหลือการคลอดรกอย่างถูวิธี
ถ้ารกลอกตัวแล้วให้เริ่มทำารดันมดลูกลับได้ทันที
ให้ยาป้องกันการติดเชื้อ และให้ยากลุ่มธาตุเหล็กรักษาภาวะเลือดจาง
เมื่อดันเข้าที่แล้วให้ oxytocin ทันทีเพื่อช่วยให้มดลูกดรัดตัวดี
ในกรณีที่ไม่สามารถดันกลับคืนได้ต้องผ่าตัดทางหน้าท้องช่วยทันที
การพยาบาล
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและ/หรือให้เลือด เพื่อป้องันภาวะช็อคจากการเสียเลือด
รายงานแพทย์ เพื่อมาดันมดลูกกลับ
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลมดลูกที่ปลิ้นมานอกปากช่องคลอดให้ชุ่มชื้นไม่แห้ง
สังเกตภาวะช็อค หากมีอาการให้รายงานแพทย์
เหงื่อออก
ตัวเย็น
ความดันโลหิตต่ำ
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะมดลูกปลิ้น
ก่อนทำคลอดรก ต้องตรวจสอบว่ารกมีการลอกตัวสมบูรณ์แล้วทุกครั้ง
ในการช่วยทำคลอดรกไม่ว่าโดยวิธีใดก็ตาม เมื่อรกคลอดออกมาแต่เยื่อหุ้มรกยังค้างอยู่ ผู้ทำคลอดควรคลำยอดมดลูกว่าหดรัดตัวแข็ง ก่อนที่จะดึงรกเพื่อรั้งให้เยื่อหุ้มรกส่วนที่เหลือลอกออกมา
ห้ามดึงสายสะดือ
หลังทำคลอดรก คลึงให้มดลูกหดรัดตัวกลมแข็ง เพื่อป้องกันการตกเลือด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดามีโอกาสเกิดมดลูกปลิ้น เนื่องจากทำคลอดรกไม่ถูกวิธี และ/หรือการฝังตัวของรกแน่นกว่าปกติ
มารดามีโอกาสตกเลือดหรือช็อค เนื่องจากมีภาวะมดลูกปลิ้น
มารดาปวดมดลูกมาก เนื่องจากมดลูกปลิ้น
มารดาและครอบครัวมีความวิตกกังวลและกลัว เนื่องจากภาวะมดลูกปลิ้น
ความหมาย
ภาวะที่ยอดมดลูกรั้งลงมาส่วนล่างของโพรงมดลูก