Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธรณภัย - Coggle…
บทที่ 1
แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธรณภัย
2.แนวทางปฏิบัติในระบบทางด่วน (Fast track) สำหรับ ผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
ความหมาย
แนวทางที่ช่วยนำผู้ป่วยให้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างทันเวลา
และลดระยะเวลาการรักษาในผู้ป่วยกลุ่มอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน เพื่อลดอัตราการเสยชีวิต ทุพพลภาพ และพิการ
หลักการ
จัดทำเป็นทีมสหวิชาชีพ
จัดทำแผนภูมิการดูแลผู้ป่วย พร้อมกำหนดลักษณะผู้ป่วย fast track
จัดทำแนวปฏิบัติ ลำดับการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยตั้งแต่มาถึง ER พร้อมกำหนดหน้าที่ต่างๆของผู้เกี่ยวข้อง
จัดทำ check list
ฝึกอบรมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
แผนปฏิบัติต้องเน้นย้ำเรื่องเวลา และต้องมีแผนปฏิบัติการรับรอง
1.แนวคิด หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
แนวคิด
แนวคิดระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
1.AAM : ผู้ป่วยได้รับการนำส่งไปยัง รพ. (Thailand)
FGM : ผู้ป่วยได้รับการรักษา ณ จุดเกิดเหตุ
ความหมาย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกระทันหัน
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นทำให้เสียชีวิตหรือพิการได้
อุบัติเหตุ
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้น โดยไม่คาดคิดมาก่อน
ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยฉุกเฉิน
ผู้ป่วยฉุกเฉิน
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
หยุดหายใจ R<10ครั้ง/นาที หรือ R>30 ครั้ง/นาที หายใจลำบาก หอบเหนื่อย
คลำ PR ไม่ได้ PR<40ครั้ง/นาที หรือ PR>30ครั้ง/นาที
SBP<80mm.Hg หรือ DBP >130mm.Hg
ตกเลือดเสียเลอกมากซีดมาก
มือเท้าเย็น เหงื่อออกมาก
T<35 C หรือ T>40 C
ถูกพิษจากสัตว์
ผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยรักษาได้ : หมดสติ HF หากไม่ได้รักษาอัตราตายสูง
ผู้ป่วยมีอัตราตายสูง : Septic shock หากไม่ได้รักษาอัตราตายสูง
ผู้ป่วยมีแนวโน้มอาการรุนแรง : MI เฝ้าระวังใกล้ชิด
ผู้ป่วยจากสาธารณภัย
อาการไม่รุนแรง : เดินได้ถือว่าอาการไม่หนัก
อาการหนัก : หามนอน/นั่งมา อาการยังคลุมเครือ ต้องใช้ตรวจละเอียด
อาการหนักมาก/สาหัส : รักษาด่วน ช่วยชีวิตทันที
หลักการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักทั่วไปในการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
เพื่อช่วยชีวิต
ป้องกันและบรรเทาไม่ให้เกิดความรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
บันทึกเหตุกาณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
ส่งต่อรักษา
หลักในการพยาบาล
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลรวดเร็วปลอดภัย
ซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสำคัญในเวลารวดเร็ว
คัดกรองผู้ป่วยรวดเร็วแม่นยำ
รักษาพยาบาลภายใต้นโยบาย รพ. และกฎหมาย
ช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถุกต้อง
ดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
นัดหมายผู้ป่วยเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
ส่งต่อเพื่อการรักษา
หลักการพยาบาลตามสภาการพยาบาล 2552
แก้ไขปัญหาที่กำลังคุคามชีวิตผู้ป่วย
ค้นหาสาเหตุ/ปัญหา แล้วดำเนินการแก้ไข
ดูแลรักษาให้ปลอดภัย และเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
รักษาหน้าที่ต่างๆของอวัยวะร่างายให้คงไว้
ป้องกันภาะแทรกซ้อนและติดเชื้อ
ประคับประคองจิตใจ อารมณ์ผู้ป่วยและญาติ
การพยาบาลสาธารณภัย
การจัดระดับความรุนแรงของสาธารณภัยทางสาธารณสุข
ระดับ 1 : ขนาดเล้ก สำนักงานสาธารณสุขอำเภอจัดการตามลำพังได้
ระดับ 2 : ขนาดกลาง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอไม่สามารถจัดการได้ต้องอาศัยระดับจังหวัดเข้ามาช่วยเหลือ
ระดับ 4 : ขนาดใหญ่ ผลกระทบรุนแรงยิ่ง รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขดำเนินการควบคุมสถานการณ์ที่ได้รับมอบหมายจากนายกฯ
ระดับ 3 : ขนาดใหญ่ ผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ/อุปกรณ์พิเศษ สาธารณสุขจังหวัดไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขระดับเขตเข้าควบคุมสถานการณ์และระดมทรัพยากรจากจังหวัดใกล้เคียงภายในเขตเข้าจัดการระงับภัย
อุบัติภัย
อุบัติภัยหมู่ เป็นอุบัติภัยที่เกิดกับคนจำนวนมาก เจ็บป่วยมาก เกินขีดความสามารถปกติที่ รพ.จะรักษาได้ ต้องมีการระดมพลเจ้าหน้าที่ของ รพ. หรือนอก รพ. มาช่วย
ประเภทอุบัติภัยหมู่
Multiple casualties จำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของ รพ. life threatening ได้รักษาก่อน
Mass casualties จำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของ รพ. จำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยเกินขีดความสามารถของ รพ. ผู้ที่มีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุด ใช้เวลา ทรพยากรน้อยที่สุดจะได้รักษาก่อน
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
บรรเทาภัย : จัดโครงการบรรเทาภัยก่อนเกิดภัย
2.เตรียมความพร้อม : ต่อเนืองจากบรรเทาภัย โดยเตรียมคน แผน ฝึกอบรมทักษาะให้พร้อม
โต้ตอบเหตุการณ์ฉุกเฉิน : ดำเนินการทันเมื่อเกิดภัย โดยยึดหลัก CSCATT
4.ความคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น : จัดให้มีระบบเฝ้าระวังภายใน 5 วันหลังภัยพิบัติ
5.บูรณะฟื้นฟู : ดำเนินการไปเรื่อยๆ จนกว่าทุกอย่างจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
พยาบาลกับการจัดการสาธารณภัย
หลักการบริหารจัดการในที่เกิดเหตุและรักษาผู้บาดเจ็บ
หลักการ Disaster paradigm
A-Assess Hazards : ประเมินสถานที่เกิดเหตุ เพื่อระวังวัตถุอันตราย
S-Support : เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จำเป็น
S-Safety and Security : ประเมินความปลอดภัยผู้ปฏิบัติงาน
T-Triage/Treatment : คัดกรองและรักษา
I-Incident command : ระบบบัญชาเหตุกาณณ์และผู้ดูภาพรวมการปฏิบัติการทั้งหมด
E-Evacuation : อพยพผู้บาดเจ็บ
D-Detection : ประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังหรือไม่
R-Recovery : ฟื้นฟูสภาพหลังเกิดเหตุการณ์
ลักษณะการปฏิบัติกาพยาบาล
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน
ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ ป้องกันและลดความรุนแรง ฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ
นำความรู้และทักษะมาประยุก๖์ใช้ในเหตุการณ์ภัยพิบัติ
3.บทบาทพยาบาลกับ Fast track
รายงานแพทย์
ประสานงานกับผ๔้ที่เกี่ยวข้อง
จัดการและดูแลขณะส่งต่อ
ดูแลตามแผนการรักษา
ติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
ช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามประเมินผลลัพท์
ประเมินเบื้องต้น
4.การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น
Trauma care system
1.การเข้าถึง/รับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access) : การเข้าถึงช่องทางการติดต่อในการแจ้งเมื่อมีเหตุเกิดขึ้น เช่น 1669
2.การดูแลในระยะก่อนถึง รพ. (Prehospital care) : การจัดให้มีการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ
3.การดูแลในระยะก่ที่อยู่ รพ. (Hospital care) : การดูแลตั้งแต่จุดคัดกรองจนถึงการดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤต
4.การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ (Rehabilitation & transfer) : การดูแลต่อเนื่องในรายที่ต้องได้รับการฟื้นฟู และอาจมีการส่งต่อในรายที่มีอาการรุนแรงเกินความสามารถต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลที่ศักยภาพสูงกว่า
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นตั้น
Primary Survey
ความหมาย
การประเมินผู้ป่วยที่ไได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น เป็นการตรวจประเมินพยาธิสภาพหรือการเปลี่ยนแปลง ต้องเรียงลำดับความสำคัญของการบาดเจ็บและภาวพคุกคามแก่ชีวิต
ขั้นตอนและวิธีการ
A
: Airway maintenance with cerical spine protection
1.ประเมิน Airway เพื่อหาอาการท่เกิดจาก Airway obstruction
2.เปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วย Head-tilt Chin-lift กรณีผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับอุบัติเหตุให้ทำ Jaw-thrust maneuver
ผู้ป่วยที่พูดโต้ตอบและให้ประวัติได้ ถือว่าไม่มีปัญหา Airway obstruction
ผู้ป่วย Severe head injury ที่ GCS<8 / coma ควรให้การ Definitive Care
ผู้ป่วยที่ Airway obstruction แพทย์จะใส่ ET tube
B
: Breathing and Ventilation
การประเมิน
ดูร่องรอยการบาดเจ็บที่ทรวงอก
ดูการเคลื่อนไหวทรวงอก
คลำ เคาะ ตรวจหาการบาดเจ็บ
ฟัง Breath sound ทั้ง 2 ข้าง
ปํญหาที่พบบ่อยในการทำ Primary Survey
Tension pneumothorax
Hemothorax
Flail chest with pulmonary contusion
ช่วยการหายใจ ระบายอากาศ เพื่อให้อากาศแลกเปล่ยน ได้ O2 ขับ CO2
C
: Circulation and Hemorrhage control
ประเมินระบบไหลเวียนโลหิตและห้ามเลือด โดย v/s ระดับความรู้สึกตัว สีผิว ปริมาณเลือดที่ออกจากแผล
ค้าหาภาวะ shock
อาการ
ระบบประสาท : ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ซึม สับสน หมดสติ ประเมิน pupils และ GCS
ผิวหนัง : เย็นชื้น เหงื่อออกมาก cyanosis **ยกเว้น septic shock ผิวอุ่น สีชมพู ในระยะแรก
:<3: และหลอดเลือด
BP
90/60 mm.Hg แสดงถึงเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
PR
เบา เร็ว แต่ระยะสุดท้ายจะช้า ไม่สม่ำเสมอ
Capillary filling time นานกว่า 1-2 min
Central venous pressure = 7-8 cm.H2O
หายใจ
เร็ว ไมาสม่ำเสมอ
ทางเดิน ปสว
ปสว ลดลงเหลือ 30-50 ml/hr เมื่อไตวายลดลงเหลือ < 20 ml/hr
ทางเดินอาหาร
กระหายน้ำ ท้องอืด คลื่อไส้อาเจียน No bowel sound
ภาวะกรดด่างในร่างกาย
ร่างกายเผาผลาญแบบ anaerobic metabolism เกิด acidosis metabolic ผู้ป่วยจะซึม อ่อนเพลีย สับสน หายใจแบบ Kussmaual
D
: Disability (Neurologic Status)
ประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือไม่ หลังจากดูแล A B C
ประเมินความรู้สึกตัว + GCS
ประเมินรูม่านตา : ขยายไม่เท่ากัน โตเพียงข่างเดียว
E
: Exposure/ Enviroment control
ผู้ป่วยบาดเจ็บหนัก ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บ หรือใช้กรรไกรตัดเสื้อ
ขณะตรวจท้องควรจะอบอุ่น ป้องกัน Hypothermia
พลิกตะแคงแบบท่อนซุง (Log roll)
Bulbocarvernosus reflex : ผู้ตรวจใช้มือสอดทวารหนักผู้บาเจ็บ จากนั้นบีบ glans penis / กระตุ้น clitoris ถ้าพบว่าทวารหนักหดรัดรอบนิ้วมือ แสดงว่าตรวจได้ +
Resuscitation
ความหมาย
การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤติ โดยการกู้ชีพจะทำหลังการประเมิน เป็นลำดับ ABC และทำไปพร้อมๆกับประเมิน
Airway ใส่ท่อช่วยหายใจ และทำหลังให้ O2 หากใส่ไม่ได้อาจใส่ท่อทางศัลยกรรม
Breathing ผู้ป่วยทุกรายควรได้ face mask O2 หากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ ใน rate 11 L/min
Circulation ควรห้ามเลือดร่วมกับให้สารน้ำทดแทน
Secondary Survey
ความหมาย
การตราวจร่างกายอย่างละเอียดหลังพ้นภาวะวิกฤตแล้ว
ซักประวัติ
PI ประวัติการแพ้ last meal
อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่างไร ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
ตรวจร่างกาย
ประเมินร่างกายซ้ำเป็นระยะๆ และติดตามการเปลี่ยนแปลงอาการ
Definitive Care
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลัง Secondary Survey เรียบร้อยแล้ว เพื่อแก้ไขพยาธิสภาพโดยตรง เป็นการรักษาเฉพาะของการบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การรักษาหลังจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเบื้องต้นแล้ว
การผ่าตัดเพื่อแก้ไภวะฉุกเฉินต่างๆ
Intracranial hematoma
Intra-abdominal bleeding