Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคสมาธิสั้น ADHD Attention-deficithyperactivity disorder - Coggle Diagram
โรคสมาธิสั้น ADHD
Attention-deficithyperactivity disorder
สาเหตุ
1.ปัจจัยทางพันธุกรรม
-มีการถ่ายทอดภายในครอบครัวประมาณ 30-40%
-ฝาแฝดไข่ใบเดียวกันร้อยละ 51
-ฝาแฝดไข่คนละใบ ร้อยละ 33
-พี่ชายหรือน้องชายของเด็ก ADHD มีโอกาสเปน ADHD
สูงกว่าคนทัวไป 5 เท่า
2.ความผิดปกติของสมอง
มีความบกพร่องของสมองส่วนหน้า (Prefrontal lobes)
ขนาดของโครงสร้างทางสมองแตกต่างจากคนทัวไป
มีปริมาณสารเคมี Dopamineและ Norepinephrineในสมองน้อยกว่าเด็กปกติ
3.ปัจจัยเสริมอืนๆ
ปัจจัยจากการเลี้ยงดู
ไม่มีวินัยขาดความเอาใจใส่
ถูกทําร้ายหรือถูกทอดทิ้ง
ปจจัยจากสิงแวดล้อม
การได้รับสารโลหะหนัก
สารพิษจากสารตะกัว
ยาฆ่าแมลง
ปจจัยจากมารดาระหว่างตังครรภ์
มารดาตั้งครรภ์ที่ติดแอลกอฮอล์ ติดบุหรี่
หรือติดสารเสพติด
การติดเชื้อระหว่างตังครรภ์
ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะนาหนักแรกเกิดน้อย
อาการ
อาการซุกซนอยู่ไม่นิ่ง (Hyperactivity)
มักเด่นชัดในวัยอนุบาลและประถมต้น เช่น ซุกซนมาก นั่งไม่ติดที่ เล่นผาดโผน
อาการสมาธิสัน (Inattention)
เหม่อลอย จะทํางานที่ละเอียดไม่ค่อยได้
จดจ่อกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดไม่นาน
วอกแวก (Distraction) ต่อสิ่งกระตุ้นรอบข้าง
อาการหุนหันพลันแล่น (Impulsivity)
ยับยั้งตนเองไม่ค่อยได้ทั้งความคิดและพฤติกรรม
การรักษา
การใช้ยา
Atomoxetine (Strattera)
กลุ่ม Psychostimulants
Methylphenidate (RitalinR, RubifenR)
การช่วยเหลือด้านครอบครัว
(Family intervention)
1.การให้ความรู้ (Psychoeducation) กับบุคคลในครอบครัว
2.การฝึกอบรมผู้ปกครอง (Parent management training) โดยให้ความรู้และฝึกทักษะในเรืองการปรับสภาพแวดล้อม
การช่วยเหลือด้านโรงเรียน
(School intervention)
1.ไม่ควรให้เด็กนั่งติดหน้าต่างหรือประตู
เพราะจะทําให้เด็กเสียสมาธิง่าย
2.ควรมีกิจกรรมให้เด็กได้ผ่อนคลาย
3.หากเด็กมีสมาธิสั้นมาก ให้ลดระยะเวลาการทํางานให้สันลง
4.ไม่ประจาน หรือลงโทษด้วยความรุนแรง
5.ให้ความสนใจและชื่นชมเมือเด็กมีพฤติกรรมที่ดี
6.การสื่อสาร ควรสังเกตความพร้อมหรือสมาธิที่จะให้ความสนใจ
7.ครูต้องตักเตือนและแนะนําด้วยท่าทีที่เข้าใจ เพื่อให้เด็กสามารถควบคุมตนเองให้ได้มากขึน หากเด็กปัญหาการปรับตัวกับเพื่อน
8.ให้ความช่วยเหลือด้านการเรียนพิเศษ เนื่องจากเด็กมีความบกพร่องด้านการเรียนรู้ (Learning Disability)
9.ให้กําลังใจ ชมเชย เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ดีหรือมีการเปลียน แปลงในทางที่ดีขึ้น
10.ให้คําแนะนําผู้ปกครองในการช่วยเหลือเด็กด้านการเรียน ที่บ้าน เช่น ให้เด็กทําการบ้านต้องเป็นมุมที่สงบ
11.ดูแลเรื่องการรับประทานยามื้อกลางวันในรายที่รักษาด้วยยา
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ จากความผิดปกติของพัฒนาการ
2.บกพร่องในการสร้างสัมพันธภาพเนื่องจากอาการหุนหันพลันแล่น
3.ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่ำเนื๋องจากไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทีตนเองคาดหวังได้
4.เสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายต่อตนเอง ผู้อื๋น และสิ่งของ เนื๋องจากอาการไม่อยู่นิ่ง หุนหันพลันแล่น และควบคุมตนเองไม่ได้
5.ครอบครัวไม่สามารถเผชิญปัญหาได้เนื่องจากความเจ็บป่วยเรื้อรัง ความรู้สึกผิด ความวิตกกังวล และความสิ้นหวัง
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ความรู้ครอบครัวและส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการวางแผนการดูแลเด็ก
2.การจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยและช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้
3.การใช้พฤติกรรมบำบัด
4.การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเป็นรายบุคคล
5.การให้คำแนะนำสำหรับครูเพื่อให้เกิดความเข้าใจและช่วยเหลือเด็กทั้งในด้านการ เรียนและการปรับตัวที่โรงเรียน
6.การให้ความรู้เรื่องการใช้ยาเกี่ยวกับวิธีการใช้ การออกฤทธิ์ ผลข้างเคียง และการ ติดตามประเมินอย่างต่อเนื่อง
คำแนะนำสำหรับครอบครัว
1.จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านและกำหนดกิจวัตรประจำวันให้เป็นระเบียบแบบแผน
2.จัดหาบริเวณที่สงบและไม่มีสิ่งรบกวนสมาธิสำหรับให้เด็กทำการบ้าน
3.แบ่งงานที่มากให้เด็กทำทีละน้อย และคอยกำกับให้ทำจนเสร็จ
ควรพูดหรือสั่งงานในขณะที่เด็กพร้อมที่จะฟัง
บอกเด็กล่วงหน้าถึงสิ่งที่ต้องการให้ปฏิบัติและชื่นชมทันทีเมื่อเด็กทำได้
เมื่อเด็กมีพฤติกรรมก่อกวนที่เป็นจากอาการของโรคสมาธิสั้น ควรใช้วิธีที่นุ่มนวลหยุดพฤติกรรมนั้น
หากเด็กทำผิด ควรใช้ท่าทีที่เอาจริงและสงบในการจัดการ
ให้เด็กมีโอกาสใช้พลังงานและการไม่ชอบอยู่นิ่งให้เป็นประโยชน์
ผู้ปกครองควรเป็นตัวอย่างที่ดีและช่วยฝึกเด็กให้มีวินัย อดทนรอคอย
ติดต่อและประสานงานกับครูอย่างสม่ำเสมอในการช่วยเหลือเด็ก
คำแนะนำสำหรับครู
ให้เด็กนั่งหน้าชั้นหรือใกล้ครูเพื่อจะได้คอยกำกับให้เด็กมีความตั้งใจในการทำงานที่ดีขึ้น ไม่ควรให้เด็กนั่งหลังห้องหรือใกล้ประตูหน้าต่าง ซึ่งจะมีโอกาสถูกกระตุ้นให้เสียสมาธิได้ง่าย
วางกฎระเบียบ และตารางกิจกรรมต่าง ๆ ของห้องเรียนให้ชัดเจน
ช่วยดูแลให้เด็กทำงานเสร็จ และคอยตรวจสมุดเพื่อให้แน่ใจว่าเด็กจดงานได้ครบถ้วน
ฝึกการจัดระเบียบ วางแผน แบ่งเวลาในการทำงาน และตรวจทบทวนผลงาน
ให้การชื่นชมทันทีที่เด็กตั้งใจทำงาน หรือทำสิ่งที่เป็นประโยชน์
เมื่อเด็กเบื่อหน่ายหรือเริ่มหมดสมาธิควรหาวิธีเตือน
เมื่อเด็กมีพฤติกรรมก่อกวน อาจใช้วิธีพูดเตือน เบนความสนใจให้ทำกิจกรรมอื่น
ช่วยเหลือเป็นพิเศษทางด้านการเรียน เช่น การสอนเสริมแบบตัวต่อตัว
มองหาจุดดีของเด็ก สนับสนุนให้เด็กได้แสดงความสามารถ
ติดต่อกับผู้ปกครองอย่างสม่ำเสมอเพื่อวางแผนร่วมกันในการช่วยเหลือเด็ก
ความหมาย
ภาวะสมาธิบกพร่องและมีพฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง เป็น กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของสมองซึ่งมี ผลกระทบต่อพฤติกรรม อารมณ์ การเรียน การงาน หรือการเข้าสังคมกับผู้อื่นอย่างชัดเจน