Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
หมายถึง ส่วนของกระดูกที่แยกออกจากกันเป็นการแตกโดยสิ้นเชิง
ข้อเคลื่อน
หมายถึง ภาวะที่เคลื่อนของผิวข้อออกจากเบ้า ซึ่งมีการบาดเจ็บของข้อและกระดูก
สาเหตุ : เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่หัก
3.รอยจ้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นใน
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : เกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
ตรวจร่างกาย : โดยตรวจลักษณะของกระดูกหัก, ลักษณะของข้อเคลื่อน , ตรวจทางรังสี
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่ม
แก้ไขปัญหาตามพยากรณ์โรคที่เกิดกับกระดูกที่หัก
กระดูกหักที่พบบ่อย
1.กระดูกไหปลาร้าหัก
: เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด โดยเฉพาะที่อายุต่ำกว่า 10 ปี
อาการ : Pseudoparalysis ขยับได้น้อย ไหล่ตก, Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
การรักษา : ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว
2.กระดูกต้นแขนหัก
: มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้คลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
3.กระดูกข้อศอกหัก
: พบบ่อยในเด็กที่พลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
4.การเคลื่อนของกระดูกเรเดียส
: พบในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี เกิดจากการหยอกล้อแล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นตรงๆ
5.กระดูกปลายแขนหัก
: พบได้ในเด็กที่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการหกล้มแล้วเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
6.กระดูกต้นขาหัก
: เกิดกับเด็กอายุ 2-3 ปี เนื่องจากมีการซุกซน ตำแหน่งที่พบ จะเป็นกลางของกระดูกต้นขา
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท
: เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ คลอดท่าก้น ภาวะคลอดไหล่ติด เด็กมีน้ำหนักมาก
การพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ สังเกตโดยการคลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
กระดูกสันหลังคด(Scoliosis)
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อทำให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้ำหนัก
ตรวจพิเศษอื่นๆ : X-RAY
อาการและอาการแสดง
1.กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
2.ทรวงอดเคลื่อนไหวจำกัด
3.มีการเคลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
4.เอ็นด้านเว้าหดสั้นและหนา
6.แขน เอว ระยะห่างไม่เท่ากัน
7.ปวดเมื่อหลังคดมาก
8.อายุน้อยความพิการมาก
5.ข้อศอกกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
การรักษา
กายภาพบำบัด
ผ่าตัด
บริหารร่างกาย
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
พบมากในผู้ป่วยที่มีกระดูกหักบริเวณ supracondylar of humerus และผู้ป่วยที่มี fracture both bone of forearm
ลักษณะของนิ้ว มือ และแขน ในVolkmann’s ischemic contracture
1.แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ
2.ข้อศอกอาจจะงอ
3.ข้อมือพับลง
4.ข้อ metacarpophalangeal มี extension
5.นิ้วงอทุกนิ้ว
6.อาจมีอัมพาต
7.กล้ามเนื้อแขนรีบแข็ง
8.ข้อทุกข้อจะเเข็ง
9.กล้ามเนื้อมือลีบ
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อขาดเลือดไปเลี้ยง
ระยะของการเกิด
ระยะเริ่มเป็น
บวม เจ็บ ปวด กระดิกไม่ได้ ชา คลำชีพจรไม่ได้
2.ระยะมีการอักเสบ
กล้ามเนื้อบวม ตึง แข็ง สีคล้ำ มีเลือดปะปนอยู่
3.ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
เกิดที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน
วิธีป้องกัน
1.จัดกระดูกให้เข้าที่เร็วที่สุด
2.อย่างอศอกมากเกินไป
ใช้ Slab ใส่หลังแขนแล้วพันด้วยผ้าธรรมดา
การแนะนำผู้ป่วย
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าหัวใจตลอดเวลา
ถ้าบวมหรือปวด รีบปรึกษาแพทย์เพื่อดูว่าเฝือกแน่นรึป่าว
ถ้าปวด บวม ชา รีบปรึกษาแพทย์เพื่อตัดเฝือกออกทันที
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
(Congenital muscular Torticollis)
เป็นลักษณะที่ศรีษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่ง
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลง
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
ผ่าตัด โดยตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสอง หลังผ่าตัดต้องใช้อุปกรณ์ผยุงคอ และต้องยืดกล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรงและป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่มีภาวะสันหลังคด
มีลักษณะของกระดูกสันหลังผิดรูป เริ่มโค้งงอไปด้านด้างข้าง
สาเหตุ
ชนิดไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง
ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลัง
โรคกระดูกสันหลังคดจากความผิดปกติของกล้ามเนื้อประสาท
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติ : เคยผ่าตัด พิการของกระดูกสันหลัง
ตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการหลัง แนวลำตัว
ห้องปฏิบัติการณ์ : ถ่ายภาพเอกซเรย์ในท่ายืนตรง
อาการและอาการแสดง
ปวดเมื่อหลังคด
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
การรักษา
แบบไม่ผ่าตัด เพื่อหยุดหรือชะลอ
แบบผ่าตัด
แนวทางการพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
นอนหออภิบาลหลังผ่าตัด
อธิบายวิธีพลิกตะแคงตัว