Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเรื่องระบบประสาท กล้ามเนื่อและกระดูก - Coggle…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเรื่องระบบประสาท กล้ามเนื่อและกระดูก
บทบาทของพยาบาลที่มีต่อเด็กที่มีปัญหาเรื่องระบบประสาท
การรวบรวมข้อมูลภาวะสุขภาพ
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การให้คำแนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กโรคระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะการทำงานของสมอง ที่ไม่มีการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับของความรู้สึกตัว
ความรู้สึกสับสน
ระดับความรู้สึกตัวดี
การรับรู้ผิดปกติ
ระดับความรู้สึกง่วงงุน
ระดับความรู้สึก stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ระดับหมดสติ (coma)
ท่าทางของเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย
งอแขนทั้ง 2 ข้าง เข้าหาตัว
ecerebrate posturing เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย แขนทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและคว่ าแขนลงโดยบิดข้อมือออกด้านข้าง ขาทั้ง 2 ข้างเกร็ง
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflexes)
ในช่วงหมดสติระดับลึก (deep coma) จะพบว่า reflexes
ต่างๆ ของเด็กจะหายไป
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่าวมกับกาารเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ
ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับการบาดเจ็บ
กรณีที่ 2 มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติที่สมองทีเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 °c อายุ ประมาณ 6 เดือน – 5 ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
การตรวจกำลังกล้ามเนื้อ
-ไม่มีการเคลื่อนไหวหรือการหดตัวของกล้ามเนื้อเลย = 0
-มีการหดตัวของกล้ามเนื อบ้างเล็กน้อย แขน ขา ขยับ
ได้บ้างเล็กน้อย = 1
-มีการหดตัวของกล้ามเนื อมากกว่าระดับ 1 แต่ยกแขน
หรือขาไม่ได้ = 2
-กล้ามเนื อมีแรงพอที่จะยกแขน ขา ได้โดยไม่ตก = 3
-มีแรงยกแขน ขา ต้านแรงผู้ตรวจได้บ้าง = 4
-กล้ามเนื้อมีแรงปกติเหมือนคนทั่วไป = 5
ภาวะชักจากไข้สูง
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
อายุ
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่างๆ
อาการ
มีไข้สูงกว่า 39องศาเซลเซียส
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
การชักเป็นแบบทั้งตัว
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้นๆ ไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ าในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
ระยะเวลาการชักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ าในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
โรคลมชัก
อุบัติการ
พบได้บ่อยในเด็กโรคระบบประสาท พบได้ร้อยละ 4-10 ของเด็กทั่วไป
อายุที่มีอุบัติการณ์บ่อยคือ 2-5 ปี และเมื่ออายุเพิ่มขึ้นอุบัติการณ์จะลดลง
อัตราการเกิดพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
โรคระบบประสาทร่วมกับความผิดปกติของผิวหนัง, โรคทางพันธุกรรม
ความผิดปกติพัฒนาการทางสมอง,โรคหลอดเลือดสมอง,สารพิษและยา,
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลังคลอด
ไม่ทราบสาเหตุ
จากความผิดปกติของ Neurotransmission
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
: มีพยาธิสภาพภายในสมอง
อาการแสดง
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
Ictal event หรือ Peri-ictal period คือ ระยะที่เกิดอาการชัก
มีระยะเวลาตั งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
Ictal event หรือ Peri-ictal period คือ ระยะที่เกิดอาการชัก
มีระยะเวลาตั งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง เกิดนาไม่เกิน24ชั่วโมง
Interictal peroid คือ ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั งแต่ระยะเวลาแสดงใดๆ แต่อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิดของโรคลมชัก
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures)
อาการชักเหม่อ (Absence)
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
เยื่อสมองอักเสบ
เกิดจากเชื้อนิวโมคอคคัส
H. Influenzae และเมนิงโกคอคคัส
อาการแสดง
มีไข้ หนาวสั่น
ปวดศีรษะรุนแรงปวดข้อ
การประเมินสภาพ
ตรวจน้ำไขสันหลัง CSF
ค่าปกติของน้ำไขสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
ความดันระหว่าง 75 – 180 มม.น้ า (5 – 15 มม.ปรอท)
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml (1% ของ serum
protein)
กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml
คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml
Culture & Latex agglutination
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
◦วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR (กรณีเก็บตัวอย่างเชื้อบริสุทธ์)
◦วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
◦วิธี seminested-PCR
ระยะติดต่อ
ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ)
วิธีติดต่อ
โดยเชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย
อาการแสดง
Meningococcemia
ปวดศีรษะ เจ็บคอ ไอ ไข้สูง หนาวสั่น
Meningitis
มีไข้ ปวดศีรษะ ซึม สับสน
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น
Congenital Hydrocephalus ความผิดปกติในการสร้างน้ าไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง post meningitis
อาการแสดงทางคลีนิค
1.หัวบาตร(Cranium enlargement)
2.หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกติ
3.รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน (Suture separation)
4.รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง (Fontanelle bulging)
5.หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
6.เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
7.อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
8.ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
9.ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้
พัฒนาการช้า
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการ
สร้างน าหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
1.) การผ่าตัดใส่สายระบายน าในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
(ExternalVentricularDrainage,EVD,Ventriculostomy)
2.) การผ่าตัดใส่สายระบายนำ้ในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
โรคแทรกซ้อน
1.การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt malfunction)
มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
2.การติดเชื้อของสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt infection)Epidermidis
3.การอุดตันสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt obstruction)
การรักษาIICP
รักษาเฉพาะ : รักษาสาเหตุที่ท าให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก การอุดกั้น
ทางเดินน้ าไขสันหลัง
การรักษาเบื้องต้น กรณีมีIICPสูงอย่างเฉียบพลัน
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการ
มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อน
แรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน
ไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว
spina Bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่องนั้น
พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ
lumbosacrum
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida occulta
Spina bifida cystica
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย : แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูก
สันหลัง
การตรวจพิเศษ : การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์
ผิดปกติ อาจมี myelomeningocele ต้องตรวจน้ าคร่ าซ้ า
การซักประวัติ มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์ , ได้ยากันชัก
ประเภท Valporic acid
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จ าเป็นต้องรักษาแต่ชนิด Cystica ต้อง
ผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจ
ไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
Ataxia cerebral palsy
Mixed type
อาการ
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว
การทรงตัวผิดปกติ
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด เช่น เป็นหัดเยอรมัน คลอดท่าก้นเด็กมีพัฒนาการช้ากว่าวัย ตัวเกร็งแข็ง
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ พัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
จัดท่านอนของเด็กให้เหมาะสม โดยให้นอนตะแคงข้าง เพื่อป้องกันการสำลัก
ดูแลไม่ให้มีอาหาร หรือเศษอาหารอยู่ในช่องปาก เพราะเด็กอาจสำลักได้
ดูดเสมหะ
แรงดันสมองไม่เพิ่มขึ้น
จัดให้เด็กนอนศีรษะสูง ประมาณ 15 – 30 องศา
จัดท่านอนให้ข้อสะโพกงอไม่เกิน 90 องศา
ป้องกันไม่ให้ท้องผูก
ได้รับการดูแลลอย่างมีประสิทภาพ
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน ตามภาวะสุขภาพของแต่ละบุคคล
ดูแลให้เด็กได้รับอาหารทางหลอดเลือดด าตามแผนการรักษา