Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดโดยหัตถการ - Coggle Diagram
การบำบัดโดยหัตถการ
การเย็บแผลและการได้รับยาชาเฉพาะที่
การจัดการบาดแผลอุบัติเหตุ
พิจารณาการจัดการบาดแผล
การซักประวัติข้อมูลต่างๆ
ประเภทของบาดแผลอุบัติเหตุ
บาดแผลถลอก (Abrasions)
บาดแผลตัด (Cut wound)
1.บาดแผลฟกช้ำ (Contusion wound/Bruise)
บาดบาดแผลฉีกขาด (Lacerations wound)
5.บาดแผลทะลุหรือบาดแผลถูกแทง ((Punctures or penetrating wound)
บาดแผลถูกบีบหรือบด (Crushed wound)
บาดแผลถลก (Avulsion wound)
การชะล้างบาดแผล
Antiseptic solution ที่ใช้ในการล้างแผล
4 % Chlorhexidine (Hibiscrub) มีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อแกรมบวกดีกว่าแกรมลบ
0.9% NSS เป็น isotonic ช่วยกระตุ้นการงอกขยายของเซลล์ใหม่ ไม่ทำลายเนื้อเยื่อ ไม่ฆ่าเชื้อ แต่ช่วยชะล้างกำจัดเชื้ออก
Providone iodine หรือ Betadine (ไม่ควรใช้ในแผล สามารถดูดซึมเข้ากระแสเลือด เป็นพิษได้)
Hydrogen peroxide ช่วยชะล้างบาดแผล และเนื้อเยื่อที่ตาย ทำให้แผลสะอาดขึ้น
70% Alcohol เช็ดรอบแผล
ยาชาเฉพาะที่ (Local anesthetics)
คือ
ยาที่ออกฤทธิ์ปิดกั้นการส่งกระแสประสาทกับเส้นประสาทเท่านั้น ทำให้หมดความรู้สึกบริเวณที่เส้นประสาทนั้นไปเลี้ยง แต่ผู้ป่วยยังรู้สึกตัวตลอดเวลา
ชนิดของยาชา
Lignocaine hydrochloride หรือ Lidocaine หรือ Xylocaine
นิยมใช้ เนื่องจากออกฤทธิ์ที่ระบบประสาทส่งความรู้สึกมากกว่าประสาทสั่งการ
ขนาดที่นิยมใช้ คือ 0.5% 1% 2% และมีชนิดผสม Adrenaline เพื่อให้ออกฤทธิ์นาน
Pontocaine hydrochloride
ระงับความรู้สึกดีแต่มีพิษมาก
ใช้ในการทำหัตถการที่ลูกตา จมูก ปาก และคอ
Procaine Hydrochloride หรือ Novocaine
อาการแพ้
แพ้มาก : หน้ามืด ตามองไม่เห็น ว้าวุ่น ชักหมดสติ
อย่างอ่อน : คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ
มีฤทธิ์อยู่ได้นานขึ้นโดยเติม Adrenaline ลงไป 0.5 cc ต่อยาชา 100 cc
มีฤทธิ์นาน 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมง
อาการไม่พึงประสงค์ของยาชา (เฉพาะที่)
1.ถ้าความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดสูง อาจเกิดจาก
การใช้ยาชาเกินขนาด ฉีดยาเข้าหลอดเลือดโดยไม่ตั้งใจ การดูดซึมของยาเป็นไปอย่างรวดเร็ว
2.ผลต่อระบบประสาท
คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ตื่นเต้น กระสับกระส่าย กล้ามเนื้อกระตุก ชัก โคม่า หมดสติ ศูนย์ควบคุมการหายใจอาจถูกกด
ผลต่อระบบเลือด
ความดันโลหิตต่ำ หัวใจเต้นช้าลง อาการแพ้แบบ anaphylaxis ซึ่งพบได้น้อย
การแก้ไขการแพ้ยาชา
ให้นอนพักศีรษะสูง ให้ออกซิเจน
วัดสัญญาณชีพ บันทึกอาการ และอาการเปลี่ยนแปลง ถ้า BP ต่ำ มีแนวโน้มช็อค ให้ 0.5% D/NSS IV drip อย่างเร็วระหว่างรอแพทย์
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง + รายงานแพทย์
ให้การพยาบาลช่วยหายใจ เตรียมอุปกรณ์ใส่ ETT. เตรียมช่วย CPR.
หากผู้ป่วยชักให้ Valium 10 mg. IV. push ช้าๆ ตามแผนการรักษา
หากหัวใจหยุดเต้นอาจให้ Adrenaline 1:1,000 IV.
วิธีการใช้ยาชา
การใช้ทาหรือหยอด (Topical) : การใช้ยาชาชนิดที่ดูดซึมง่าย เช่น Cocaine หรือ Tetracaine
การฉีดเฉพาะที่ (Infiltration) : การฉีดยาชาในบริเวณที่จะทำการผ่าตัดโดยตรง เพื่อให้เกิดยาชาเฉพาะที่ ใช้ในการผ่าตัดขนาดเล็ก เช่น เย็บแผล
การสกัดบริเวณ (Field block) : การฉีดยาเข้าไปที่เส้นประสาทที่ไปเลี้ยงบริเวณใดบริเวณหนึ่งแล้วทำให้บริเวณนั้นชา ไม่ต้องฉีดยาชาบริเวณที่จะผ่าตัด
การฉีดยาสกัดเส้นประสาท (Nerve block) : การฉีดยาเข้าไปที่เส้นประสาทเส้นใดเส้นหนึ่งโดยเฉพาะ ทำให้บริเวณที่เส้นประสาทนั้นไปเลี้ยงชาทั้งหมด
การทำให้ชาโดยฉีดที่ไขสันหลัง (Spinal block) : การฉีดยาเข้าที่ไขสันหลังแล้วทำให้ชาที่ลำตัวและขาทั้งสองข้าง
การเย็บแผล
เป้าหมาย
ไม่ติดเชื้อ
ใช้งานได้ตามปกติ
มีแผลเป็นน้อยที่สุด คงความสวยงามไว้
วัตถุประสงค์
ห้ามเลือด
ช่วยในการ healing ของแผล
ลักษณะแผลที่ควรเย็บ/ไม่ควรเย็บ
สุนัขกัด ตกน้ำครำ แผลติดเชื้อ ยกเว้นแผลบริเวณที่สำคัญอาจพิจารณาเย็บ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเย็บแผล
Set suture
Needle
เข็ม cutting
มีความคมด้านข้าง ใช้เย็บเนื้อเยื่อที่หนา เหนียว เช่น พังพืด เอ็น ผิวหนัง
เข็ม round/ taper
ใช้เย็บเนื้อเยื่อที่อ่อน ไม่ต้องการให้ขอบเข็มบาดเนื้อเยื่อ เช่น เย็บลำไ้ส้ กล้ามเนื้อ หลอดเลือด
เข็มโค้งมาก เย็บแผลที่แคบ/เข็มโค้งน้อย เย็บแผลที่กว้าง
forceps
Non tooth forceps
Tooth forceps
Needle holder
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
กรรไกรตัดไหม
สำลี/Gauze/Povidone iodine หรือ Betadine/NSS.
อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมเพิ่ม
ยาชาเฉพาะที่
Syringe
เข็มเบอร์ 18 หรือ20 และเบอร์ 24 หรือ 25 เพื่อ draw และฉีดยาชา
ไหมหรือด้ายเย็บแผล
เย็บเนื้อเยื่อ
Dexon,Chromic catgut หรือ Plain catgut
เย็บผิวหนัง
Silk, Dermalon, Nylon, Ethilon
การเลือกขนาดของไหมเย็บ
เบอร์ 3/0, 4/0 เย็บที่ แขนขา ลำตัว
Chromic catgut, Plain catgut เบอร์ 3/0,4/0 เย็บแผลในปาก
เบอร์ 2/0, 3/0 เย็บที่ศีรษะ ฝ่ามือฝ่าเท้า
เบอร์ 5/0, 6/0 เย็บที่หน้า
หลักการเย็บแผล
ใส่ถุงมือ sterile
ปูผ้าสี่เหลี่ยมปราศจากเชื้อใต้แผล และปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลางคลุมแผล
เตรียมอุปกรณ์เย็บแผล เลือกชนิด/ขนาดของเข็ม และเส้นไหมให้เหมาะกับแผลที่จะเย็บ
ตรวจดูแผลอีกครั้งหากมีเนื้อตาย ขอบแผลรุ่งริ่ง ให้ใช้กรรไกรตัดเนื้อเล็มเนื้อตายและตัดเล็มขอบแผลให้เรียบ
ทำการเย็บแผล
Interrupted suture
การเย็บแบบสองชั้น (Mattress suture หรือ Mattress interrupted suture)
แผลลึกกว่า 0.5 ซม.
แผลยาวตั้งแต่ 3 ซม.ขึ้นไป
การเย็บแบบธรรมดา (Simple suture หรือ Plain interrupted suture)
แผลยาวไม่เกิน 3 ซม.
แผลลึกไม่เกิน 0.5 ซม.
Continuous suture
Continuous locking suture
Simple continuous
การให้ภูมิคุ้มกันบาดทะยัก
Tetanus toxoid เป็นวัคซีนหรือ Antigen กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน
ถ้าเคยได้รับครบ 3 ครั้ง ไม่เกิน 10 ปี : ไม่ต้องฉีดซ้ำ
ได้รับครบ 3 ครั้ง เกิน 10 ปี : ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม
1.ถ้าไม่เคยได้รับมาก่อน ได้รับนานเกิน 10 ปี : ฉีด 3 ครั้ง ครั้งละ 0.5 cc เดือนที่ 0,1,6
กรณีผู้รับบริการอายุ 13 ปีขึ้นไป มีประวัติการได้รับวัคซีนไม่ชัดเจน ให้ฉีดเหมือนคนที่ไม่เคยได้รับมาก่อน
การทำ Skin test TAT.
ระยะเวลาในการตัดไหม
แขน ขา หรือผิวหนังที่ตึงมาก 7-10 วัน /ในตำแหน่งที่เคลื่อนไหวมาก 10-14 วัน
ในกรณีที่ไม่แน่ใจว่าติดสนิทดีหรือยัง ให้ตัดไหมอันเว้นอัน
ลำตัว ผิวหนังไม่ตึงมาก 7 วัน
บริเวณศีรษะและใบหน้า 5วัน
การผ่าฝี (Incision and Drainage)
คือ
เจ็บปวดเมื่อสัมผัสโดน และก่อตัวขยายใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ
ประกอบด้วยเซลล์ เม็ดเลือดขาว เนื้อเยื่อที่ตายแล้ว และเชื้อโรค ซึ่งมักเป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย
ตุ่มหนองอักเสบสะสม ใต้ผิวหนัง หนองมีกลิ่นเหม็น
แบ่งเป็น 2 ประเภท
ตามบริเวณที่เกิด
ฝีที่ผิวหนัง : ก่อตัวขึ้นบริเวณใต้ผิวหนัง
ฝีที่อวัยวะภายใน : ก่อตัวขึ้นบริเวณอวัยวะภายใน หรือในบริเวณที่ว่าง ระหว่างอวัยวะภายในร่างกาย
อุปกรณ์
ด้ามมีด
Gauze , gauze drain
ใบมีด นิยมใช้เบอร์ 11(ชายธง)
Tooth/ non tooth forceps
Arterial clamp
Probe
Curette
น้ำยาฆ่าเชื้อ 10% povidine iodine, NSS
เข็มและ Syringe (สำหรับ draw และฉีดยาชา)
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
ขั้นตอนการผ่าฝี
เลือกตำแหน่งที่นิ่มที่สุด กรีดฝีด้วยใบมีดเบอร์ 11 หงายคมขึ้น
ใช้ Arterial forceps ขยายปากแผลให้กว้าง เพื่อให้หนองไหลออกมาได้สะดวก
ทดสอบการชาโดยใช้ tooth forceps
ล้างหนองออกจนแผลสะอาด โดยใช้ 0.9% NSS ถ้าแผลลึกต้อง irrigate
ฉีดยาชาแบบ field block/ local block
ใช้ gauze drain ใส่เข้าไปให้เต็มและลึกถึงก้นแผล อย่า pack แน่นเกินไป
เช็ดบริเวณที่จะผ่าด้วย povidone iodine เช็ดวนจากด้านในไปด้านนอก กว้างขนาดวางผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
ปิดแผล
การถอดเล็บ (Nail Avulsion)
คือ
การผ่าตัดทางการแพทย์ โดยใช้เครืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อถอดเล็บมือหรือเล็บเท้าทีผิดปกติออกมา
ปัญหาส่วนใหญ่ที่ทําให้ต้องทําการถอดเล็บ ได้แก่ การเกิดเล็บขบ เล็บฉีกขาด หรือเล็บบางส่วนหลุดออกจากเนือเยือฐานเล็บ
เป็นการเปิดโอกาสให้เล็บมือหรือเล็บเท้างอกขึ้นมาใหม่ตามกระบวนการ ทางธรรมชาติ
วิธีการถอด
Block nerve โคนนิ้ว Apple gauze bandage รัดโคนนิ้ว
Scrub
ใช้ set suture เพิ่ม artery โค้ง, Metzenbaum , sofa-tulle/ vasaline gauze
ใส่ถุงมือ paint betadine
ปูผ้า สอด artery โค้ง เข้าด้านข้างเล็บ lock artery หมุนเล็บจากด้านหนึ่งไปอีกด้านใช้ Metzenbaum ตัด skin ที่เกิน ทำความสะอาดด้วย NSS
paint betadine ปิดแผลด้วย sofa-tulle
ปิดก็อซพันด้วย gauze bandage ให้แน่น คลายผ้ารัดนิ้วออก
เลือดออกใต้เล็บ
สาเหตุ
หนีบ
กระแทก
การช่วยเหลือ
เช็ดด้วย Betadine solution
ใช้เข็มเบอร์ 18 ค่อยๆ ปั่นบนเล็บจนทะลุ เลือดออกมา
ปิดแผล
การนำสิ่งแปลกปลอมออกจากใต้เล็บ
ถ้าไม่ออกอาจต้องพิจารณาทำ partial nail extraction
เช็ดนิ้วด้วย Beta dine solution
Blade กรีด
ทดสอบอาการชา
ใช้ forceps หรือ arterial clamp คีบออก
2.ฉีดยาชาแบบ digital nerve block
เช็ดด้วย NSS.
ปิดแผล
ให้คำแนะนำ
เตรียม set suture เพิ่ม arterial clamp blade เบอร์ 11
เสี้ยนตำในเล็บ ใช้ artery clamp จับค่อยๆ ดึงออก