Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
Postpartum Hemorrhage
ความหมาย
การเสียเลือดภายหลังทารกคลอดทางช่องคลอดมากกว่า 500 CC.
การเสียเลือดภายหลังทารกคลอดโดยวิธีผ่าตัดคลอด มากกว่า 1000 CC.
การเสียเลือดมากกว่าร้อยละ 1 ของน้ำหนักตัวของมารดาหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของ Hct. มากกว่าร้อยละ 10 ระหว่างแรกรับและหลังคลอด
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการประมาณการตกเลือดหลังคลอด
การประมาณการตกเลือดต่ำกว่าความเป็นจริงร้อยละ 30 – 50
ปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์ได้ทดแทนการตกเลือดที่เกิดขึ้นขณะคลอด
การตกเลือดหลังคลอดมักเกิดขึ้นในครรภ์หลัง
ประเภท
การตกเลือดระยะหลัง (Late PPH) พบได้บ่อยวันที่ 7 – 14 หลังคลอด จนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
การตกเลือดระยะแรก (Early PPH) ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด พบประมาณร้อยละ 5 - 8
สาเหตุ
1. Uterine atony (Tone)
Uterine fatigue
Bladder full
Benign tumor of the uterus
Over distended of the uterus
Chorioamnionitis- Uterine relaxing agent
Augmentation
Antipartum & Intrapartum hemorrhage
การทำสูติศาสตร์หัตถการ
Grand multipara (การคลอดบุตรหลายครั้ง)
Use of drug during labor
Primary uterine inertia- Mismanagement of the third stage of labor (ไม่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเมื่อไหล่หน้าของลูกคลอด)
Previous uterine scar
Intra uterine infection
Uterine contraction characteristics
2. Lacerations of the birth canal (Trauma)
การทำสูติศาสตร์หัตถการ
Precipitate labour
Fetal macrosomia
การตัดฝีเย็บไม่ถูกวิธี
ความผิดปกติของมดลูก
การได้รับ Epidural anesthesia
Hematoma
3. Retained placental tissue (Tissue)
Retained placental (รกค้าง/ลักษณะการเกาะของรก)
เป็นสาเหตุของการตกเลือดระยะหลัง ประมาณวันที่ 6 – 10 หลังคลอด
Abnormal of placenta
การทำคลอดรกที่ผิดวิธี
Subinvolution
Placenta bed bleeding
Placenta adherens
-Placenta accreta ร้อยละ 25
-Placenta increta
-Placenta percreta ร้อยละ 5
Uterine rupture
อุบัติการณ์เกิด 1:2,000
Obstructed labour
Multiple gestation
Fetal macrosomia
การแยกของแผลที่ผ่าตัดมดลูก
4. Acquired coagulopathies (Thrombin)
พบได้น้อยแต่เสี่ยงต่อชีวิต
-การติดเชื้อที่รุนแรง
-Disseminated intravascular coagulopathy (DIC)
Severe pre-eclampsia จะทำให้เกิด Thrombocytopenia
อาการและอาการแสดง
Bleeding per vagina
เลือดคั่งที่ Broad ligament
Uterine contraction
Laceration (เส้นเลือดฝอย / หลอดเลือดแดง)
Uterine inversion
Retained placenta
ติดเชื้อในโพรงมดลูก
Hypovolemic shock
Abdomen
Uterine atony : มดลูกอ่อนนุ่มและคลำไม่ได้
Subinvolution : มดลูกมีขนาดใหญ่และอ่อนนุ่ม
Pelvic
External genitalia and vagina : การฉีกขาดของ valva และ vagina สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
หลักการพยาบาล
ค้นหาสาเหตุ
ค้นหาอาการในระยะเริ่มแรก
เตรียมสารน้ำที่จำเป็นและอุปกรณ์ช่วยชีวิต
ให้การพยาบาลที่รวดเร็วและนุ่มนวล
ผลของการตกเลือดหลังคลอด
Puerperal Infection
Hazards of therapy
Sheehan syndrome
Hysterectomy
การฉีกขาดใกล้ท่อปัสสาวะ ทำให้ท่อปัสสาวะบวม ปัสสาวะลำบาก
การสร้างน้ำนมลดลง
Anemia
ระยะเวลาการพักฟื้นนานกว่าปกติ
Death
แนวทางการรักษา
Uterine massage
Bimanual compression
กรณีไม่ตอบสนองต่อการรักษาขั้นต้น
ควบคุมเลือดออกเฉพาะที่
เย็บผูกเส้นเลือดมดลูก
B-Lynch suture คือ ผูกมัดมดลูกจากด้านหน้าไปยังด้านหลัง
Internal iliac artery ligation (Hypo gastric artery ligation) (การผูกเส้นเลือด)
Uterine temponade / embolization ควรใส่อย่างน้อยนาน 12 ชั่วโมง แต่ไม่ควรนานมากกว่า 24 ชั่วโมง
Total / Subtotal Hysterectomy เป็นวิธีสุดท้ายที่จะใช้เพื่อหยุดภาวะตกเลือด ในกรณีที่มีบุตรเพียงพอแล้ว
Recombinant Factor VIIA สำหรับภาวะที่มีเลือดออกรุนแรง จากสารต้านปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
การป้องกัน
ระยะตั้งครรภ์
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระยะก่อนคลอด
เตรียมเลือดไว้อย่างน้อย 24 ชั่วโมงภายหลังคลอด
On IV fluid with medicath No.18
เตรียมอุปกรณ์กู้ชีพให้พร้อม
ระยะเวลาการคลอดไม่ควรเกิน 24 hrs.
ระยะก่อนตั้งครรภ์
การดูแลสตรีที่มีประวัติตกเลือดหลังคลอด
ค้นหาผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง
หากตรวจพบภาวะซีด / ขาดสารอาหาร
ทำหมัน
ระยะคลอด
ดูแลและติดตามความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะการทำงานของมดลูก
รายที่เสี่ยงสูงควร NPO
ทำคลอดรกอย่างถูกวิธี
ตรวจรกอย่างละเอียด
การใช้ยาในระยะคลอด
ตรวจช่องทางคลอดอย่างละเอียดก่อนเย็บแผล
เย็บแผลอย่างถูกวิธี
ระยะหลังคลอด
ดูแลและติดตามการทำงานของมดลูกอย่างใกล้ชิด
โดยเฉพาะภายใน 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
แนะนำมารดาหลังคลอดให้คอยสังเกตการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมงภายใน 8 ชั่วโมงหลังคลอด
ดูแลการได้รับ Oxytocin ภายหลังคลอดตามแนวทางการรักษาของแพทย์
กระตุ้นให้มารดาหลังคลอดถ่ายปัสสาวะภายใน 6-8 ชั่วโมงหลังคลอด
สังเกตปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ตรวจสอบ Vital sings
ตรวจดูการบวมเลือด
กระตุ้นการให้ทารกดูดนมมารดา
Postpartum Genital Hematoma
สาเหตุ
การคลอดอย่างรวดเร็ว
การทำสูติศาสตร์หัตถการ
ส่วนนำของทารกกดช่องทางคลอดนานกว่าปกติ
การเย็บซ่อมแซม
ประวัติการอักเสบของหลอดเลือดดำ
ภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
สีของผิวหนัง
คลำบริเวณที่เป็น
อาการปวด ลักษณะจะมีแรงกดอย่างรุนแรงใน 12 ชั่วโมงแรก
อาการของการมีเลือดออก
เลือดคั่งบริเวณ Board ligament
ปัสสาวะลำบาก
การป้องกัน
ทำคลอดอย่างถูกวิธี
การซ่อมแซมแผลฝีเย็บ
ฝ้าระวังอาการในรายที่มีความเสี่ยงสูง
การรักษา
กรณีก้อนเลือดมีขนาดเล็ก
ปล่อยให้หายเอง
ประคบเย็น
ประคบร้อน
ยาแก้ปวด
กรณีก้อนเลือดมีขนาดใหญ่
ผ่าตัดและผูกบริเวณที่มีเลือดออก
Vaginal packing + Antibiotic ointment
Retained Foley cath
OFF Vaginal packing + Foley cath
Sheehan' s Syndrome
สาเหตุ
ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) เกิดการขาดเลือดมาเลี้ยงอย่างเฉียบพลัน
ปริมาณเลือดที่เสียจะมากจนผู้ป่วยมีภาวะช็อกทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ
ในช่วงตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอดใหม่ๆ ต่อมใต้สมองจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจึงทาให้มีความเสี่ยงในการขาดเลือดไปเลี้ยงได้ง่ายกว่าช่วงที่ไม่ตั้งครรภ์
กลุ่มที่มีความเสี่ยง
ภาวะตกเลือดก่อนคลอดและ/หรือตกเลือดหลังคลอด
ภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติทั่วร่างกาย (Disseminate intravascular coagu lopathy หรือ DIC)
เบาหวานตั้งแต่อายุน้อย
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เฉื่อยเนือย วิงเวียน
ทำงานเชื่องช้า คิดช้า
ขี้หนาว
หน้าตาดูแก่เกินวัย ผิวหนังหยาบแห้ง
ประจำเดือนไม่มา เป็นหมัน
อาจมีอาการเบื่ออาหาร ซูบผอมซีด
ความดันเลือดต่ำ
ขนรักแร้ ขนในบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ร่วง
การรักษา
การรักษาด้วยฮอร์โมนต้องกินยาไปตลอดชีวิต
หากอาการไม่รุนแรงสามารถตั้งครรภ์ได้ตามปกติ
หากเกิดอาการอย่างรุนแรงในครรภ์แรกแล้วมักไม่สามารถตั้งครรภ์ในครั้งต่อไปได้
Sub involution Of Uterus
ความหมาย
กระบวนการกลับคืนสู่สภาพเดิมของมดลูกใช้เวลานาน หรือ หยุดก่อนที่มดลูกจะคืนสู่สภาพเดิมอย่างสมบูรณ์
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงติดต่อกัน 3 วัน หรือ มดลูกลดระดับช้ากว่าปกติ
คลำพบมดลูกทางหน้าท้องหลังคลอดไปแล้ว 2 สัปดาห์
สาเหตุ
ตั้งครรภ์แฝดหรือตั้งครรภ์แฝดน้าซึ่งทำให้กล้ามเนื้อมดลูกมีการยืดขยายมาก
ภาวะอ่อนเพลียจากระยะคลอดยาวนาน
เคยตั้งครรภ์มากกว่า 6 ครั้งขึ้นไป
การได้รับยาระงับความรู้สึกในขณะคลอด
มีสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
Early ambulation ช้ากว่าปกติ
การผ่าตัดคลอดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
ทารกไม่ได้ดูดนมแม่
การติดเชื้อของมดลูก
มดลูกคว่ำหน้ามากหรือคว่ำหลังมาก
อาการ
น้ำคาวปลาออกนานหรือปริมาณมากกว่าปกติ
น้ำคาวปลาเป็นสีแดง (persistence red lochia) มีกลิ่นเหม็น (foul lochia)
มดลูกอ่อนนุ่มและใหญ่กว่าปกติ
ระดับยอดมดลูกไม่ลดลงอาจกดเจ็บ
อาการปวดมดลูก
อุณหภูมิสูงและอาจเกิดการตกเลือดระยะหลัง
การป้องกัน
ภายหลังคลอดรก ตรวจรกอย่างละเอียด
ส่งเสริมการไหลของน้ำคาวปลา
ส่งเสริม Breast feeding
นางสาววิธิดา เลขที่ 71 ชั้นปี 3