Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คางทูม (Mumps)
images, newscms_thaihealth_c_dfkpqrtxy126, นางอรสา…
คางทูม (Mumps)
อาการ
อาการของโรคคางทูมมักจะปรากฏออกมาหลังติดเชื้อไวรัส 14 ถึง 25 วัน (เรียกว่าระยะฟักตัว) โดยช่วงเวลาฟักตัวของเชื้อเฉลี่ยจะอยู่ที่ประมาณ 17 วัน เช่น ปวดศีรษะ รู้สึกไม่สบาย ปากแห้ง ปวดท้องเล็กน้อย เหน็ดเหนื่อย ไม่อยากอาหาร มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ปวดข้อต่อ ปวดเมื่อยตามตัวภายใน 24 ชม. ต่อมาปวดบริเวณขากรรไกร ต่อมน้ำลายหน้าหูจะบวมโต จะคลำได้และกดเจ็บ
การรักษา
ยังไม่มีวิธีรักษาโรคคางทูม ซึ่งการติดเชื้อนี้ควรจะหายไปเองภายในหนึ่งหรือสองสัปดาห์ การรักษาง่าย ๆ จะมีเพื่อบรรเทาอาการของโรคไปจนกว่าระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะกำจัดเชื้อไวรัสไปเอง
- การดื่มน้ำและพักผ่อนให้มาก ๆ
- การทานยาแก้ปวด อย่างอิบูโพรเฟนและพาราเซตตามอล คุณไม่ควรให้ยาแอสไพรินแก่เด็กที่อายุต่ำกว่า 16 ปี
- ประคบบริเวรต่อมน้ำลายด้วยน้ำแข็ง
- ดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน
- ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย รสไม่จัด
- ประเมินภาวะแทรกซ้อน เช่นลูกอัณฑะอักเสบ รังไข่อักเสบ
- รักษาตามอาการ
การวินิจฉัย
- ตรวจหาเชื้อจากน้ำลาย น้ำไขสันหลัง สมอง และปัสสาวะ(เก็บน้ำลายบริเวณกระพุ้งแก้ม ข้างที่อักเสบดีที่สุด) โดยวิธี Reverse transcriptase (RT)–PCR assays
- ตรวจภูมิคุ้มกัน(IgM และ IgG ) โดย ตรวจพบใน 2-3 วันแรก ส่วน ตรวจพบสูงเป็น 4 เท่าห่างจากการตรวจครั้งแรก 2 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
-
-
- เยื่อหุ้มสมองอักเสบ แต่มักพบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก
- รับประทานอาหารได้น้อยจากอาการปวด
-
- พบความสัมพันธ์ระหว่างการเกิด endocardial fibroelastosis (EFE) กับการติดเชื้อไวรัสคางทูมตั้งแต่ในครรภ์
การป้องกัน
- การป้องกันโรคคางทูมที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คือการฉีดวัคซีน ซึ่งเด็กจะได้รับวัคซีน เด็กทุกคนต้องได้รับวัคซีน 2 dose ครั้งแรก
ที่อายุ 9-12 เดือน และครั้งที่สองอายุ 4-6 ปี
- ไม่ใช้สิ่งของเครื่องใช้ไม่รวมกับผู้อื่น เช่น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แก้วน้ำ จานชาม ของเล่น และอื่นๆ ควรหลีกเลี่ยงสัมผัสมือกับเด็กป่วยที่เป็นโรคคางทูมด้วย
- กรณีมีเด็กป่วย ต้องแยกเด็กป่วยประมาณ 9 – 10 วันหลังเริ่มมีต่อมน้ำลายโต เพราะเป็นระยะแพร่เชื้อสำคัญ ควรหยุดโรงเรียน เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่น
- แนะนําให้ใช้การป้องกันแบบ standard และ droplet precautions
พยาธิกำเนิด
ระยะการแพร่เชื้อ
ระยะที่แพร่เชื้อได้มาก
ที่สุด คือ 1-2 วันก่อนเริ่มมีอาการต่อมน้ำลายพาโรติดบวม จนถึง 5 วันหลังจากต่อมน้ำลายพาโรติดเริ่มบวม สามารถแยกเชื้อไวรัสคางทูมจากน้ำลายของผู้ป่วยตั้งแต่ 7 วัน ก่อนมีอาการจนถึง 9 วันหลังจากเริ่มมีอาการต่อมน้ําลายพาโรติดบวม ระยะฟักตัวของเชื้อไวรัสคางทูมส่วนใหญ่ 16-18 วัน
โรคคางทูมเกิดจากเชื้อไวรัสคางทูมเป็นเชื้อไวรัสใน family Paramyxoviridae genus Rubulavirus สามารถติดต่อได้โดยการสัมผัสโดยตรง (direct contact) สารคัดหลั่งของทางเดินหายใจ
(droplet nuclei) หรือ fomites ผ่านทางจมูกหรือปากต้องอาศัยการสัมผัสที่ใกล้ชิดในการแพร่เชื้อ
-
-