Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid), image, image, image, image - Coggle Diagram
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
ประวัติการค้นพบ DNA
ค.ศ.1952 Alfred Hershey และ Martha Chase ใช้ไวรัสพิสูจน์ว่า DNA ทำหน้าที่เป็นสารพันธุกรรม และโปรตีนมิใช่สารพันธุกรรม
ค.ศ.1952 Maurice Wilkin,Rosalind Franklin ใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ พบว่า DNA น่าจะจับกันมากกว่า 1 สาย มีโครงสร้างแบบซ้ำๆและมีมากกว่า 1 โครงสร้าง
ค.ศ.1949 Erwin Chargaff พบว่าองค์ประกอบของDNA มีจำนวนเบสที่ไม่เหมือนกัน และในสายมี %G=%C %A=%T
ค.ศ.1953 Francis Crick และ James Watson ใช้เทคนิคการเลี้ยวเบนรังสีเอ็กซ์ DNA สองสายจะจับกันเป็นสายของน้ำตาลและหมู่ฟอสเฟต เป็นสายยาว มีเบสของ DNA คล้ายขั้นบันไดของบันไดเวียน
ค.ศ.1994 นักชีวเคมีชาวอเมริกัน 3 คน พบว่า DNA มีข้อมูลพันธุกรรม แต่ไม่ได้รับการยอมรับ
ค.ศ.2003 โครงการจีโนมมนุษย์เสร็จสมบูรณ์
ค.ศ.1889 Richard Altmann พบว่า Nucleic acid เป็นกรด
ค.ศ.2015 จะจัดลำดับจีโนมของพลเมือง เพื่อช่วยปรับปรุงยาและการวินิจฉัยโรค
ค.ศ.1869 แพทย์ชาวสวิสชื่อ Friedrich Miescher ดูว่าในแผลที่เป็นหนอง มีโปรตีนตัวไหนเพื่อนำมาศึกษา แต่ที่พบคล้ายนิวเคลียสของเซลล์ เรียกว่า Nuclein
นิวคลีโอไทด์
ความสำคัญทางชีวภาพ
เป็นสารเก็บพลังงาน เช่น ATP,GTP
ส่งสัญญาณและควบคุมเมตาบอลิซึมและการสืบพันธ์ของเซลล์ คือ c-AMP
เป็นองค์ประกอบของ DNA และ RNA
เป็นโคเอนไซม์ เช่น UDP,CDP
ไดนิวคลีโอไทด์
Mononucleotide 2 หน่วย เชื่อมกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์
มี 2 ชนิด รวมกันเป็น polynucleotide
Ribonucleic acid (RNA)
RNAมี 3 ชนิด
tRNA ขนย้าย/อ่านรหัสจาก mRNA เพื่อนำกรดอะมิโนมาสร้างเป็นโปรตีน
rRNA พบที่ไรโบโซม/ไปเชื่อมกรดอะมิโนที่ tRNA นำมาเพื่อต่อเป็นสายโพลีเพปไทด์
mRNA เป็น RNA นำรหัสพันธุกรรมจากDNA ออกมานอกนิวเคลียส
ต่อกันด้วยพันธะ 3' , 5'-ฟอสโฟไดเอสเทอร์ เป็นชนิดสายเดี่ยว พบในไซโตพลาสซึมของเซลล์ โดยเฉพาะที่ไรโบโซม
รับข้อมูลทางพันธุกรรมจากDNA นำไปสังเคราะห์โปรตีน เอนไซม์ ฮอร์โมน
A จับคู่กับ U และ G จับคู่กับ C
Deoxyribonucleic acid (DNA)
โครงสร้างของDNA
โครงสร้างทุติยภูมิ
Watson-Crick doudle helix
DNA 2สาย พันกันเป็นเกลียวคู่เวียนขวา
จับคู่กันด้วยพันธะไฮโดรเจน A-T,C-G เรียกว่าเบสคู่สม
โครงสร้างตติยภูมิ
วงแหวน
เกลียวคู่ยิ่งยวด
positive super coil
negative super coil
relax
ขึ้นอยู่กับชนิดของDNA
โครงสร้างปฐมภูมิ
ลำดับการเรียงตัวของเบส
สมบัติทางกายภาพของDNA
การดูดกลืนแสงของDNA
สมบัติการลอยตัวของDNA ลอยตัวในสารละลายที่มีความหนาแน่นเท่ากับโมเลกุล
การคืนสภาพ(Renaturation) กลับมารวมเมื่อปรับสภาพให้เหมาะสม
Melting Temperature (Tm) อุณหภูมิที่ทำให้DNA คลายเกลียวออกครึ่งหนึ่ง ค่าGC content สูง จะทำให้ค่า Tm สูง
การแปลงสภาพ(Denaturation) การแยกกันของสายเกลียวคู่
หน่วยย่อย คือ mononucleotide
องค์ประกอบ
ไนโตรจีนัสเบส
เบสที่มี N เป็นองค์ประกอบ
ใน DNA ไม่พบ U
ใน RNA ไม่พบ T
2 กลุ่ม
PURINES
PYRIMIDINES
กรดฟอสโฟลิก
หมู่ฟอสเฟต
น้ำตาลเพนโทส
มี C 5 อะตอม
RNA น้ำตาลไรโบส
DNA น้ำตาลดีออกซีไรโบส
อยู่ในนิวเคลียส ภายหลังพบทั้งใน พลาสมิด ไมโตคอนเดรีย และ คลอโรพลาสต์
เป็นสารชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ มีหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรม ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการต่างๆของสิ่งมีชีวิต