Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สารชีวโมเลกุล Biomolecule, นางสาวจันทิมา ศิรินพกร เลขที่12…
สารชีวโมเลกุล Biomolecule
Carbohydrates
Oligosaccharides
a few monosaccharides covalently linked. (2-10 molecule)
Disaccharides - 2 monosaccharides covalently linked.
Polysaccharides
สายโซ่ polymers ของ monosaccharide or disaccharide units.
Monosaccharide > 10 molecule ต่อกันด้วยglycosidic bond
แบ่งตามองค์ประกอบ ได ้2 ประเภท
Heteropolysaccharideประกอบด้วย monosaccharideมากว่าหนึ่งชนิด
Homopolysaccharide ประกอบด้วยmonosaccharide ชนิดเดียว เช่น starch glycogen cellulose
ไม่มีสมบัติในการรีดิวซ์
ไม่มีรสหวาน
ส่วนใหญ่ไม่ละลายน้ำหรืออยู่เป็นคอลลอยด์
ถูกย่อยโดยเอนไซม์ 3 ชนิด
- amylase พบในตับอ่อนและข้าวมอลท์ ย่อยโพลีแซคคาไรด์เป็นมอลโตส
- amylase อยู่ในน้ำลาย ย่อย (1→4) linkages แต่ไม่ย่อยมอลโตส
,1 - 6 glucosidase ย่อยตรงแขนงของอะไมโลเพคติน
Monosaccharides
น้ำตาลโมเลกุลเล็กสุด มี OH groups หลายหมู่ ขึ้นกับจำนวน carbons (3, 4, 5, 6) triose, tetrose, pentose or hexose.
Derivative of carbohydate
เกิดจาก reaction of carbohydate
Structural polysaccharide
โพลีแซคคาไรด์โครงสร้างในสัตว์
ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
ปฏิกิริยาสร้างพันธะไกลโคซิดิกของ Sucrose
α-D-glucopyranosyl-(1→2)-ß-D-fructofuranose
Sugar derivatives
Amino sugar
หมู่amino แทนที่หมู่hydroxyl
Sugar deoxy
ไม่พบ O ของหมู่-OH ที่พบมากคือ2-deoxyribose เป็นองค์ประกอบของDNA
Sugar acid
หมู่aldehyde at C1, หรอืOH at C6, ถกูoxidized เป็น carboxylic acid; เช่น gluconic acid, glucuronic acid, ascorbic acid
Sugar ester
เกิดจากปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันของโมโนแซคคาไรด์
Sugar alcohol
หมู่aldehydeor ketoneถูกแทนที่ด้วย OH มีรสหวานเช่น Glycerol Inositol Sorbitol
กรดไขมัน(fatty acid)
กรดไขมันที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมีประมาณ 40 ชนิด ซึ่งแบ่งเป็นประเภทได้
กรดไขมันไม่อิ่มตัว(Unsaturated fatty acid)
กรดไขมันอิ่มตัว(Saturated fatty acid)
กรดไขมันที่ได้จากการนำไตรกลีเซอไรด์มาไฮโดรไลซ์จะเป็นโซ่ตรงและมีจำนวนคาร์บอนเป็นเลขคู่อยู่ระหว่าง 12–24อะตอม
การเรียกชื่อกรดไขมัน
พิจารณาตามความจำเป็นต่อร่างกาย จำแนกได้เป็น 2 ประเภท
ไม่ใช่กรดไขมันจำเป็น (nonessential fatty acid)
กรดไขมันจำเป็น(essential fatty acid)
Unsaturated fatty acid
แบ่งได้ 2 กลุ่ม
Polyunsaturated fatty acid (polyenoic acid)
Monounsaturated fatty acid (monoenoic acid)
กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่พบมากที่สุด ได้แก่ กรดโอเลอิก (oleic acid) และกรดไลโนเลอิก (linoleic acid)
พันธะ C - C ต่อกันด้วยพันธะเดี่ยว และมีพันธะคู่อย่างน้อย 1 พันธะ ส่วนใหญ่อยู่ที่ตำแหน่ง -C9 = C10
Oleic acid (C18) CH3(CH2) 7CH = CH(CH2) 7COOH
Linoleic acid (C18) CH3(CH2)4CH = CHCH2CH = CH -(CH2)6CH2 COOH
ไตรกลีเซอไรด์
ชนิดและการเรียกชื่อ
Simple triacylglycerol
Mixed triacylglycerol
การศึกษาสมบัติทางเคมีของไตรกลีเซอไรด์
เลขซาพอนนิฟิเคชัน(Saponification number)
ปฏิกิริยาไฮโดรลิซีส(Hydrolysis)
เลขไอโอดีน (Iodine Number)
ปฏิกิริยาซาปอนนิฟิเคชัน(Saponification)
ปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชัน (Hydrogenetion)
ลิพิดเบ็ตเตล็ด
สฟิงโกลิปิด(Sphingolipids)
เทอร์พีน(Terpene)
ฟอสโฟลิฟิด (Phospholipid)
สเตียรอยด์(Steroids)
ไข (wax)
ไอโคซานอยด์(Eicosanoid)
กรดอะมิโน (Amino acids) และโปรตีน(Proteins)
ในสารละลาที่เป็นกลาง
Isoelectric Point (pI)
Dipeptides
Sulphur –containing side chain
aromatic side chain
ปฏิกิริยาของกรดอะมิโนและโปรตีน
Sanger's reagent
Dansylchloride
Ninhydrin
Biuret
Conformation of protein
Secondary structure(โครงสร้างทุติยภูมิ)
Tertiary structure(โครงสร้างตติยภูมิ)
Primary structure(โครงสร้างปฐมภูมิ)
Quaternary structure(โครงสร้างจตุรภูมิ)
การจำแนกประเภทของโปรตีน
3-Dimensional structure (โครงสร้าง 3 มิติ)
fibrous protein (โปรตีนเส้นใย)
globular protein(โปรตีนเส้นใย)
Function (หน้าที่)
composition(องค์ประกอบ)
conjugated protein
simple protein
หน้าที่ของโปรตีน
ป้องกัน(Defense)
ควบคุม(Regulation)
เสริมโครงสร้าง (Mechanical support)
การเคลื่อนไหว(Movement)
สะสม (storage)
ตอบสนองต่อการกระตุ้น(Stress response)
ขนส่ง (Transport)
เร่งปฏิกิริยา(Catalysis)
เอนไซม์
Cofactorไอออนของโลหะ
Coenzyme
HOLOENZYME = APOENZYME + COFACTOR
การเรียกชื่อเอนไซม์
เติม ase ลงท้ายชื่อปฏิกิริยา
เติม ase ลงท้ายชื่อซับสเตรท
COFACTOR & COENZYME
การจัดประเภทเอนไซม์ Enzymes Classification
Lyases
Isomerase
Hydrolase
Ligase
Transferase
Oxidoreductase
ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์
ความเข้มข้นของเอนไซม์(Enzyme Concentration)
ความเป็นกรด –ด่าง (pH)
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น (Substrate Concentration)
อุณหภูมิ (Temperature)
ตัวยับยั้ง (Inhibitor)
REVERSIBLE INHIBITORS
การยับยั้งแบบไม่แข่งขัน : Noncompetitive
การยับยั้งแบบไม่แข่งขัน : Uncompetitive
การยับยั้งแบบแข่งขัน (CompetitiveInhibitor)
นางสาวจันทิมา ศิรินพกร เลขที่12 รหัสนักศึกษา622801012