Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(สิ่งแปลกปลอม เข้าสู่ร่างกาย (Foreign body)) - Coggle Diagram
สิ่งแปลกปลอม เข้าสู่ร่างกาย (Foreign body)
การวินิจฉัยแยกโรค
1.สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
ในกระจกตา(cornea)
ในถุงเยื่อตา(conjunctiva)
ในตาส่วนนอก(external eye)
2.สิ่งแปลกปลอมในหู
3.สิ่งแปลกปลอมในรูจมูก
4.สิ่งแปลกปลอมในปาก
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
การปฐมพยาบาล
ห้ามขยี้ตา
ลืมตาในน้ำสะอาดแล้วกรอกตาไปมา
ใช้ไม้พันสำลีวางที่เปลือกตาแล้วพลิก เปลือกตาขึ้น ถ้าเห็นผงชัดเจนให้เขี่ยออกด้วยวัสดุที่ อ่อนนุ่มและสะอาด
ใช้ผ้าปิดตาแล้วไปพบจักษุแพทย์
ถ้าเป็นเศษวัสดุแข็งและฝังอยู่บนแก้วตา ห้ามเขี่ยออก ให้ใช้ผ้าปิดตาแล้วไปพบจักษุแพทย์
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
การปฐมพยาบาล
สิ่งมีชีวิต
ใช้น้ำหยอดเข้าไปในรูหูจนเต็ม เพื่อให้แมลงลอยตัวขึ้นมา แต่หาก เป็นหูน้ำหนวกหรือแก้วหูทะลุห้ามหยอด น้ำลงไป เพราะอาจทำให้ หูอักเสบ
ถ้าแมลงยังไม่ออก หรือลอยตัวขึ้นมา ให้ตะแคงเอาน้ำออกจากหู ใช้น้ำมัน เช่น น้ำมันมะกอก หยอดลงไปเพื่อไม่ให้แมลงเกาะ หรือกัดแก้วหู
ถ้ามองเห็นตัวแมลง ให้ใช้คีมคีบออก กรณีอยู่ตื้นๆ
ล้างหู (ear irrigation)ด้วยน้ำอุ่นประมาณ 100 F เด็กๆอาจต้องทำให้สลบก่อน
สิ่งไม่มีชีวิต
ต้องทราบชนิดของส่ิงแปลกปลอม เช่น ดินน้ำมัน กระดาษ กระดุม ลูกแก้ว เมล็ดพืช ยางลบ เป็นต้น
ถ้าวัตถุน้ันอยู่ตื้น มองเห็นชัดเจน ค่อยๆเขี่ยออก แต่หากอยู่ลึกไม่ควรเขี่ย เพราะจะดันวัตถุนั้นลึกลงไปอีก
ล้างหู (ear irrigation) ด้วยน้าอุ่นประมาณ 100 F โดยผู้ที่ชานาญ
สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก
การปฐมพยาบาล
1.ในรายที่เป็นผู้ใหญ่ ถ้าสิ่งแปลกปลอมอยู่ไม่ลึก ให้ปิดรูจมูกข้างที่ดี สั่งน้ำมูกแรงๆ สิ่งแปลกปลอมอาจหลุดออกมาได้ แต่ถ้าอยู่ลึกให้รีบส่งโรงพยาบาล
2.ในกรณีที่เป็นเด็กเล็ก ให้รีบมาพบแพทย์ อย่าพยายามดึงออกเอง
สิ่งแปลกปลอมเข้าคอ
การปฐมพยาบาล
ที่ทางเดินอาหารส่วนต้น
ถามชนิดของสิ่งแปลกปลอม
ให้ดื่มน้ำ หรือกลืนอาหารนิ่มๆ เช่น ข้าวสุกปั้นเป็นก้อนๆ หรือขนมปังนิ่มๆ
ห้ามใช้นิ้วแคะหรือล้วง เพราะจะทำให้วัตถุปักลึกมากขึ้น
ถ้าเห็นวัตถุชัดเจน และแน่ใจว่าเอาออกได้ ให้ใช้คีมคีบออก ถ้าติดลึกต้องรีบส่งรพ.
ที่ทางเดินหายใจส่วนบน
ใช้วิธี Heimlich maneuver, chest trust ในหญิงตั้งครรภ์ (กรณีผู้ป่วยรู้สึกตัว)
ยืนข้างหลังผู้ป่วย แล้วสอดมือทั้งสองผ่านใต้แขน มากอดไว้เหนือเอว หรือเหนือ สะดือเล็กน้อย
กำหมัดโดยใช้มือซ้อนกัน กดที่ท้องของผู้ป่วย และกระตุกขึ้นอย่างแรงทันที จะทำให้ลมออกจากปอด ดันสิ่งแปลกปลอมออกได้
กรณีผู้ป่วยหมดสติ
ให้ผู้ป่วยนอนหงาย
นั่งคร่อมหันหน้าไปทางศีรษะของผู้ป่วย ใช้สันมือวางทับกันกดลงบน หน้าท้องเหนือสะดือขึ้นไปทางศีรษะของผู้ ป่วยแรงๆ และเร็ว 3-4 ครั้ง
การตรวจร่างกาย
ตา
ตรวจความผิดปกติของดวงตา ตรวจการมองเห็น
ตรวจหาสิ่งแปลกปลอมในดวงตา ชนิดของสิ่งแปลกปลอมที่เข้าดวงตา เป็นลักษณะแบบไหน เป็นสิ่งมีชีวิต สิ่งของมีคม หรือสารเคมี
หู
การตรวจดูภายนอก ได้แก่ มี discharge ไหลออกจากหู หูบวม แดง
การตรวจโดยใช้ Otoscope เพื่อตรวจดูสิ่งแปลงปลอมที่เข้าหู ระยะความลึก ความผิดปกติภายในหูอื่นๆ
การตรวจการได้ยิน โดยการพูดคุยกับผู้ป่วยโดยใช้ระดับเสียงต่างกัน
จมูก
ตรวจความผิดปกติของจมูก ตรวจหาสิ่งแปลกปลอมในจมูก
ประเมินลักษณะการหายใจ
คอ
ตรวจระบบทางเดินหายใจ ลักษณะการหายใจ การติดขัดและอุดกั้นของระบบทางเดินหายใจ
2.ตรวจดูการกลืนให้ผู้ป่วยแหงนหน้าขึ้นแล้วกลืน ดูว่าต่อมโตหรือไม่อาจคลําร่วมด้วย
ดูการเคลื่อนไหวของคอ ทุกๆทิศทาง
คลํา trachea เพื่อดูว่ามีการเอียงไปด้านใดหรือไม่ ถ้ามีอาจแสดงถึงมีก้อนหรือบางสิ่งดัน อยู่
การตรวจพิเศษ
X-ray เพื่อตรวจหาชนิดและตำแหน่ง ของสิ่งแปลกปลอม
การซักประวัติ
ตา
O : เริ่มมีสิ่งแปลกปลอมเข้าดวงตาตั้งแต่เมื่อไหร่
L : ตำแหน่งที่เกิดอาการ
D : ระยะเวลาที่เกิดอาการ เช่น ปวดเป็นๆหายๆ หรือมีอาการปวดตลอดเวลา
C : ลักษณะอาการ เช่น ปวด แสบ ร้อน
A : อาการร่วมอื่นๆ เช่น ระคายเคืองตา ตามัว ตาแดง น้ำตาไหล
R : ปัจจัยที่ทำให้อาการดีขึ้น และ แย่ลง
T : ได้รับการรักษาอะไรมา เช่น การใชน้ำล้างตา การพยายามนำสิ่งแปลกปลอมออกจากดวงตา
หู
O : เป็นตลอดเวลาหรือเป็นพักๆ
L : เป็นที่หูข้างใด หรือทั้งสองข้าง
D : เป็นมานานเท่าไร
C : ลักษณะอาการ เช่น ปวดหู ลักษณะของสิ่งแปลกปลอมที่เข้าหูเป็นสิ่งมีสิ่งมีชีวิต หรือไม่มีชีวิต เช่น แมลง ไรฝุ่น ของเล่นชิ้นเล็ก
A : อาการร่วม เช่น มีของเหลวใสไหลออกจากหู ปวดหูมาก เจ็บหู คันระคายเคืองตลอดเวลา
R : สิ่งที่ทำให้เป็นมากขึ้น หรือน้อยลง
T : ได้รับการรักษาที่ไหนมาก่อนหรือไม่ หรือใช้วิธีใดในการนำสิ่งแปลกปลอมออกก่อนมาพบแพทย์ และผลเป็นอย่างไร
จมูก
O : เริ่มมีสิ่งแปลกปลอมเข้าจมูกตั้งแต่เมื่อไหร่
L : ตำแหน่งที่เกิดอาการ
D : ระยะเวลาที่เกิดอาการ เช่น มีการระคายเคืองจมูกเป็นพักๆ แสบจมูกตลอดเวลา
C : ลักษณะอาการ เช่น มีสิ่งแปลกปลอมอุดกั้น แสบจมูก ระคายเคืองจมูก
A : อาการร่วมอื่นๆ เช่น มีอาการหนองไหล มีกลิ่นเหม็นออกจากจมูกข้างเดียว เลือดกำเดาไหล แผลรอบจมูก มีไข้ต่ำๆ ปวดศรีษะ
R : ปัจจัยที่ทำให้อาการดีขึ้น และ แย่ลง
T : ได้รับการรักษาอะไรมา เช่น การพยายามนำสิ่งแปลกปลอมออกจากจมูก และผลเป็นอย่างไร
คอ
O : อาการนั้นเริ่มเป็นมาตั้งแต่เมื่อไรเกิด ขึ้นทันทีทันใดหรือค่อยๆเป็นและเป็นมาก เวลาใด
L : เป็นที่ตําแหน่งใด สัมพันธ์กับอวัยวะใกล้เคียงอื่นหรือไม่
D : ระยะเวลาที่เกิดอาการ
C : ลักษณะของอาการ เช่น หายใจติดขัด กลืนลำบาก
A : มีอาการอื่นร่วมด้วยหรือไม่ เช่น อาเจียนเป็นเลือดหายใจลำบาก แน่นหน้าอก
R : อะไรทําให้อาการนั้นดีขึ้นหรือแย่ลง เช่น กลืนแล้วรู้สึกเจ็บมากขึ้น
T : ได้รับการรักษาอะไรมา เช่น การพยายามนำสิ่งแปลกปลอมออกจากคอ และผลเป็นอย่างไร
การซักประวัติอื่นๆ เพิ่มเติม
PH
FH
personal history