Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้แผ่นที่2 - Coggle Diagram
สรุปการเรียนรู้แผ่นที่2
คนกัด ( Human bite )
การบาดเจ็บที่เกิดจากการต่อสู้กัน การทำร้ายร่างการ หรืออาจพบในผู้ที่มีความผิดปกติในระหว่างมี เพศสัมพันธ์ บาดแผลคนกัด จะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่ายกว่าสัตว์อื่นเพราะในปากคน มีเชื้อโรค มากมายทั้ง aerobic และ anaerobic bacteria ส่วน HIV และ hepatitis B มีรายงานการติดต่อจากแผลถูก กัดบ้างแต่น้อยมาก
อาการร่วม/อาการแสดง
บาดแผลเหวอะหวะบริเวณใบหน้าหรือบริเวณใดที่มีขนาดกว้าง สกปรกมาก และคิดว่าไม่สามารถจะให้การดูแลรักษาเองได้
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
• ประเมินสัญญาณชีพ ซักถามประวัติเกี่ยวกับการได้รับบาดแผล เช่น สุขภาพของผู้ที่กัด ระยะเวลาที่ถูกกัด การรักษาที่ได้รับ
-
-
-
-
งูกัด (Snake bite)
งูมีพิษ
- งูที่มีพิษต่อระบบประสาท (neurotoxin) ได้แก่ งูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม งูทับสมิงคลา
- งูที่มีพาต่อระบบเลือด (hematotoxin) ได้แก่ งูกะปะ งูแมวเซา งูเขียวหางไหม้
- งูที่มีพิษต่อระบบกล้ามเนื้อ (myotoxin) ได้แก่ งูทะเลบางชนิด เช่น งูคออ่อน งูชายธง งูแสมรัง
งูไม่มีพิษ
เช่น งูแม่ตะง่าว งูปล้องฉนวนหลังเหลือง งูเห่ามังหรืองูแส้ม้า งูดอกหมากแดง งูทางมะพร้าว (งูปล้องไฟ) งูเหลือม งูหลาม งูปากจิ้งจก งูลายสาบ งูลายสอ งูก้นกบ งูงอด งูปี่แก้ว งูแสงอาทิตย์
-
-
-
วิธีปฐมพยาบาล
ผึ้ง ต่อ แตน ต่อย
- พยายามเอาเหล็กในออกให้หมด โดยใช้วัตถุที่มีรู เช่น ลูกกุญแจ กดลงไปตรงรอยที่ถูกต่อย เหล็กในจะโผล่ขึ้นมาให้คีบออกได้
- ใช้ผ้าชุบน้ำยาที่ฤทธิ์ด่างอ่อน เช่น น้ำแอมโมเนีย น้ำโซดาไบคาบอร์เนต น้ำปูนใส ทาบริเวณแผลให้ทั่วเพื่อฆ่าฤทธิ์กรดที่ค้างอยู่ในแผล
- อาจมีน้ำแข็งประคบบริเวณที่ถูกต่อยถ้าแผลบวมมาก
- ถ้ามีอาการปวดให้รับประทานยาแก้ปวด ถ้าคันหรือผิวหนังมีผื่นขึ้นให้รับประทานยาแก้แพ้
- ถ้าอาการไม่ทุเลาลง ควรไปพบแพทย์
แมงป่องหรือตะขาบ
- ใช้สายรัดหรือขันชเนาะเหนือบริเวณเหนือบาดแผล เพื่อป้องกันไม่ให้พิษแพร่กระจายออกไป
- พยายามทำให้เลือดไหลออกจากบาดแผลให้มากที่สุด อาจทำได้หลายวิธี เช่น เอามือบีบ เอาวัตถุที่มีรูกดให้แผลอยู่ตรงกลางรูพอดี เลือดจะได้พาเอาพิษออกมาด้วย
- ใช้แอมโมเนียหอมหรือทิงเจอร์ไอโอดี 2.5% ทาบริเวณแผลให้ทั่ว
- ถ้ามีอาการบวม อักเสบและปวดมาก ใช้ก้อนน้ำแข็งประคบบริเวณแผล เพื่อช่วยบรรเทาความเจ็บปวดด้วย
- ถ้าอาการยังไม่ทุเลาลง ต้องรีบนำส่งแพทย์
แมงกะพรุนไฟ (jelly fish)
- ใช้ผ้าเช็ดตัวหรือทรายขัดถูบริเวณที่ถูกพิษแมงกะพรุนไฟ เพื่อเอาพิษที่ค้างอยู่ออกหรือใช้ผักบุ้งทะเลซึ่งหาง่ายและมีอยู่บริเวณชายทะเล โดยนำมาล้างให้สะอาด ตำปิดบริเวณแผลไว้
- ใช้น้ำยาที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น แอมโมเนียหรือน้ำปูนใส ชุบสำลีปิดบริเวณผิวหนังส่วนนั้นนานๆ เพื่อฆ่าฤทธิ์กรดจากพิษของแมงกะพรุน
-
- ถ้าอาการยังไม่ทุเลาลง ให้รีบนำส่งแพทย์โดยเร็ว
หอยเม่น (Sea urchin)
-
-
ขนที่ยังค้างอยู่ ถ้าฝังอยู่ในบริเวณที่ไกลจาก กระดูก ให้ทุบจน แหลกเพื่อให้ร่างกายกำจัดได้ง่ายหรือประคบด้วยน้ำส้มสายชู หากปวดมาก ให้ประคบเย็น และทานยาแก้ปวด
ผู้ถูกงูกัด
- ทำความสะอาดแผลที่ถูกงูกัดด้วยยาฆ่าเชื้อเช่น แอลกอฮอล์หรือทิงเจอร์ไอโอดีน
- ไม่ควรเอาใบไม้ รากไม้ หรือสมุนไพรต่าง ๆ มาใส่แผล เพราะจะทำให้แผลสกปรก เกิดการติดเชื้อ และอาจเป็นบาดทะยักได้
- ตำแหน่งขาหรือแขนที่ถูกกัดควรให้เคลื่อนไหวน้อยที่สุด โดยใช้ไม้กระดานหรือกระดาษแข็งๆ รองหรือดามไว้
- ห้ามดื่มของมึนเมาหรือกินยากลางบ้าน เนื่องจากอาจเกิดการสำลักและอาเจียน หรือปิดบังอาการหรืออาการแสดงที่เกิดจากพิษงูได้
- อย่าตื่นตกใจเกินไป ต้องพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยที่ใกล้ที่สุด โดยนำเอาซากงูที่กัดไปด้วย (ถ้ามี) เพื่อความถูกต้องในการรักษา
-
ฤทธิ์ของพิษงู (ต่อ)
-
Cytotoxins
เป็นพิษที่พบได้ในงูเห่า งูกะปะ งูเขียวหางไหม้ และงูแมวเซา (ไม่พบในงูสามเหลี่ยมและงูทับสมิงคลา) จะทำให้บริเวณที่ถูกกัดบวมเน่าได้ บางรายเกิดตุ่มน้ำเหลืองพุพอง และอาจมีน้ำเลือดแทรกอยู่
-
-
Nephrotoxin
เป็นพิษทำลายไตโดยตรงพบในงูแมวเซา แต่ผู้ป่วยที่ถูกงูพิษชนิดอื่นกัดก็อาจจะพบไตเสื่อมได้เช่นกัน ซึ่งเป็นผลทางอ้อม
Hemolysis
เป็นพิษทำให้เม็ดเลือดแดงแตก ภาวะนี้เกิดได้อย่างชัดเจนในหลอดทดลอง แสดงให้เห็นได้โดยการนำพิษผสมงูรวมกับเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดแดงจะแตกสลาย แต่ภาวะนี้เกิดขึ้นน้อยมากในผู้ป่วยที่ถูกงูกัด
-
-