Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคตับอักเสบี (Hepatitis B) ในหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคตับอักเสบี (Hepatitis B) ในหญิงตั้งครรภ์
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสตับอักเสบบี มีระยะฟักตัวของโรคประมาณ 1-2 เดือน
มีการติดต่อทางเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
สารคัดหลั่งต่างๆ เช่น น้ำลาย สารคัดหลั่งทางช่องคลอด
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้ อาเจียน
มีไข้ ตัวตาเหลือง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ทารก
ระยะตั้งครรภ์
ติดเชื้อจากมารดาผ่านทางรก
ติดเชื้อจากการแตกของเส้นเลือดจากรก
ตายในครรภ์
ระยะคลอด
ตายคลอดจากการติดเชื้อขณะคลอด
การคลอดก่อนกำหนด
ระยะหลังคลอด
อาจมีเลือดออกในสมอง
ติดเชื้อหลังคลอดจากการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งของมารดา
เป็นพาหะของโรคดดยไม่มีอาการ
ตับอักเสบเฉียบพลันแรกคลอด
APGAR score ต่ำ
มารดา
มีโอกาสเกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และความดันโลหิตสูง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
น้ำเดินก่อนการเจ็บครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
การป้องกันและการรักษา
การแยกมารดาและทารก เมื่อทารกคลอดต้องรีบทำความสะอาดทารกทันที
การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
การช่วยเหลือระยะคลอด คือ จะต้องพยายามดูดเมือกและเลือดออกจากปากทารกให้ได้มากที่สุด
การตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ว่าเป็นพาหะเรื้อรัง (มี HBsAg) หรือไม่
ให้ภูมิคุ้มกันแก่ทารก
Passive immunization : Hepatitis B immunoglobin
(HBIG)
Active immunization : H-B-VAX, Engerix-B
การวินิฉัย
การซักประวัติ
ประวัติพื้นฐานส่วนบุคคลและประวัติ ครอบครัวเน้นการค้นหากลุ่มเสี่ยงของการติดเชื้อ
จำนวนครั้งของการแต่งงาน
การใช้ยาและสารเสพติด
เชื้อชาติ
อายุ
จำนวนคู่นอน แบบแผนการดำเนินชีวิตในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์
ประวัติความเจ็บป่วยในอดีต
ได้รับวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี
ประวัติการสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
การติดเชื้อในการตั้งครรภ์ครั้งก่อน
ข้อมูลบุตร เช่น ลักษณะแรกเกิด
การได้รับวัคซีน
สุขภาพปัจจุบัน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
HBsAb , HbeAb + มีภูมิต่อโรค
HBsAg , HBeAg + ทารกมีโอกาสติดเชื้อสูง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
กลัวและวิตกกังวล เกี่ยวกับอาการของโรคที่มีต่อตนเองและทารกในครรภ์
หญิงตั้งครรภ์มีโอกาสแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นเนื่องจากเป็นพาหะของโรค
เสี่ยงต่อภาวะร่างกายขาดสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่ เนื่องจากมีอาการคลื่นไส้อาเจียน
ทารกในครรภ์มีโอกาสได้รับเชื้อเนื่องจากดูดกลืนเลือดและน้ำคร่ำขณะคลอด
วัตถุประสงค์การพยาบาล
ช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีความรู้เรื่องระบาดวิทยา เพื่อให้ความร่วมมือ
ทารกปลอดภัยจากการติดเชื้อหรือไม่มีการติดเชื้อเกิดขึ้น
ป้องกันไม่ให้ติดเชื้อเพิ่ม
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้พาบุคคลที่ใกล้ชิดในครอบครัวมาตรวจเลือด และรับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
ให้คำแนะนะการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู่บุคคลอื่น ควรแยกของใช้ประจำวัน
จากบุคคลในครอบครัว และต้องใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหาร
ระยะคลอด
ใช้หลัก Universal precaution
ทำความสะอาดห้องและเตียงคลอด แยกของใช้ต่างๆ และฆ่าเชื้ออย่างถูกวิธี
เมื่อทารกคลอดรีบดูดมูกออกจากปาก จมูก ให้มากที่สุด และโดยเร็วที่สุด อาบน้ำและทำความสะอาดไม่ให้โลหิตของมารดาเหลืออยู่ ก่อนที่จะนำทารกไปยังห้องทารกแรกเกิด
ไม่ควรทำหัตถการใดๆ เช่น ฉีดยา ให้น้ำเกลือแก่ทารก ถ้าร่างกายทารกยังไม่สะอาดพอ เพื่อลดจำนวนเชื้อไวรัสที่อาจติดได้จากการสัมผัส
ระยะหลังคลอด
ดูแลทารกให้ได้รับวัคซีนตามแผนการรักษา
ให้คำแนะนำแก่มารดาว่าทารกที่ได้รับวัคซีน อาจมีอาการเจ็บ ผื่น บวมบริเวณที่ฉีดและจะหายไปภายใน ๒ วัน สร้างภูมิคุ้มกันนาน ๓-๕ ปี ถ้าทารกมีไข้จะงดการฉีดวัคซีน
ให้นมบุตรได้ แต่ยกเว้นในรายที่มารดาหัวนมแตกหรือมีแผล เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
แยกของใช้มารดา และแนะนำการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่นแนะนำการพาทารกมารับวัคซีนให้ครบ
กรณีศึกษาโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ (การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในหญิงตั้งครรภ์)
นางปีบชาวเหนืออายุ 43 ปี G4P0-2-1-2 บุตรคนแรกและคนที่สองคลอดเมื่ออายุครรภ์ 32 สัปดาห์น้ำหนักแรกคลอด 2,200 กรัม ทั้งสองคน ครรภ์ที่สามแท้งเองไม่ได้ขูดมดลูก
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบันอายุครรภ์ 36 สัปดาห์น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 50 kg. ส่วนสูง 156 cm.
ประวัติการเจ็บป่วย ปฏิเสธการมีโรคประจำตัว และปฏิเสธการผ่าตัดปฏิเสธการแพ้ยา
ผลตรวจคัดกรองทาลัสซีเมียหญิงตั้งครรภ์และสามี OF negative DCIP negative] ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ VDRL non-reactive, HbsAg positive, HbeAg positive, Blood group o Rh positive, Hct 33%
การประเมินการตรวจร่างกาย / การประเมิน การตรวจครรภ์ วันที่ตรวจ 14 มิ.ย. 2563 น้ำหนัก 58 กก. BP 130/90 mmHg, Urine albumin negative, Urine sugar negative ระดับยอดมดลูก 2/3> SP รู้สึกเด็กดิ้น FHS 156 ครั้ง / นาที ไม่พบบวมไม่พบ ตกขาว ตรวจพบมีไข้ ตัวตาเหลือง จึงส่งพบแพทย์