Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ…
กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พุทธศักราช2541
คำจำกัดความ
“ผู้รับอนุญาต”
ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
“ผู้ดำเนินการ”
ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาล
“ผู้ป่วย”
ผู้ขอรับบริการในสถานพยาบาล
“ผู้ประกอบวิชาชีพ”
ผู้ประกอบโรคศิลปะ
“สถานพยาบาล”
สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะซึ่งจัดไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมาย
สถานพยาบาล
ประเภท
ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
รักษาเฉพาะผู้ป่วยไป-กลับ
คลินิก
รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
รับตรวจผู้ป่วยไป-กลับ และค้างคืน
โรงพยาบาล
การขออนุญาตประกอบกิจการ
คุณสมบัติ
.มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา
ไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ
หน้าที่
ถ้าประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาล ต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทำรายงานที่จะปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าอย่างน้อยสิบห้าวัน
ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตที่ให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งในการเลิกกิจการ
ย้ายสถานพยาบาลไปประกอบกิจการที่อื่นดำเนินการเช่นเดียวกันกับการขออนุญาต
ประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม่
ถ้าพ้นจากหน้าที่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เกินเจ็ดวัน
ต้องแสดงรายละเอียด
รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
อัตราค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
สิทธิของผู้ป่วย
ชื่อสถานพยาบาล
ถ้ามีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้รับอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนนั้น
ต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่ายในสถานพยาบาลแห่งนั้น
ต้องไม่เรียกเก็บเงินหรือยินยอมให้มีการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล หรือค่าบริการอื่นเกินอัตราที่ได้แสดงไว้ และต้องให้การบริการแก่ผู้ป่วยตามสิทธิที่แสดงไว้
อายุใบอนุญาต
มีอายุจนถึงสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
การขอต่ออายุใบอนุญาตต้องยื่นคำขอก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ
การขออนุญาตดำเนินการสถานพยาบาล
ต้องไม่เป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลอยู่ก่อนแล้วสองแห่ง
ต้องเป็นผู้ที่สามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้โดยใกล้ชิด
เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม เป็นต้น
หน้าที่ของผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเกินจำนวนเตียงตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
ต้องควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรมกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลที่ตนได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ดำเนินการประกอบวิชาชีพผิดสาขาและต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้อื่นซึ่งไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพมาประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลที่ตนเป็นผู้ดำเนินการ
ต้องควบคุมดูแลสถานพยาบาลให้สะอาดเรียบร้อย ปลอดภัยและมีลักษณะและมีลักษณะสถานพยาบาล
หน้าที่ร่วมกันของผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
ต้องควบคุมดูแลมิให้โฆษณาหรือยินยอมให้ผู้อื่นโฆษณาชื่อ ที่ตั้งหรือกิจการสถานพยาบาล
ต้องไม่จัดทำหรือยินยอมให้ผู้อื่นจัดทำหลักฐานเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการใช้หรือยินยอมให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาลประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภท
ต้องควบคุมดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยซึ่งอยู่ในสภาพอันตรายและจำเป็นต้องได้รับการรักษาพยาบาลโดยฉุกเฉิน
ต้องควบคุมและดูแลการประกอบกิจการสถานพยาบาลให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ต้องจัดให้มีและรายงานหลักฐานเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
ต้องจัดให้มีเครื่องมี เครื่องใช้ ยา และเวชภัณฑ์ที่จำเป็นประจำสถานพยาบาลนั้น
ต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลตามวิชาชีพและจำนวนที่กำหนดในกฎกระทรวงตลอดเวลาทำการ
โทษ
การปิดสถานพยาบาลชั่วคราว
ผู้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการสถานพยาบาลตามเวลาที่กำหนด
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการกระทำการหรือละเว้นกระทำการจนเป็นเหตุให้ผู้อยู่ในสถานพยาบาลหรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียงกับสถานพยาบาลเดือดร้อนหรือเกิดอันตราย
สถานพยาบาลไม่แก้ไขปรับปรุงการประกอบกิจการ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยาและเวชภัณฑ์ตามที่ผู้อนุญาตมีคำสั่งภายในระยะเวลาที่กำหนด
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติ
โทษทางอาญา
ไม่แสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย ไม่มีชื่อสถานพยาบาล ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ ประกอบวิชาชีพ ไม่แจ้งอัตราค่ารักษาพยาบาลและไม่แจ้งสิทธิผู้ป่วยมีโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
ไม่จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยาเวชภัณฑ์ ไม่จัดทำรายงานการรักษาพยาบาล ไม่ควบคุมและดูแลสถานพยาบาลให้เป็นไปตามกฎกระทรวง มีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะอันตรายและไม่ช่วยเหลือ มีโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
โฆษณาสถานพยาบาลอันเป็นเท็จหรือโอ้อวดเกินความจริง ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท และปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทนับแต่วันที่ฝ่าฝืนจนกว่าจะระงับการโฆษณานั้น
จัดทำหลักฐานค่ารักษาพยาบาลหรือเอกสารแสดงผลการรักษาพยาบาลอันเป็นเท็จมีโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการสถานพยาบาลในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิโดยคำแนะนำของสภาการพยาบาล
ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทต่างๆ
1.คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ดูแลมารดาและทารกก่อนคลอดและหลังคลอด
2.สถานพยาบาลการผดุงครรภ์
ให้บริการมารดาและทารกก่อนคลอดและหลังคลอดการคลอดปกติส่งเสริมสุขภาพและการอนามัยแม่และเด็ก
โดยสามารถรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนไม่เกิน 30 เตียง
3.สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรัง ให้บริการผู้ป่วยเรื้อรังโดยวิธีการทางการพยาบาล
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พุทธศักราช2523
โรคติดต่อต้องแจ้งความ
แจ้งต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขหรือ
พนักงานเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ภายใน 24 ชั่วโมงนับแต่เริ่มมีการเจ็บป่วย
การแจ้งความ
เจ้าบ้านหรือผู้ควบคุมดูแลบ้าน
ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ของตนความสัมพันธ์กับผู้ป่วย ชื่อ อายุ และ ที่อยู่ของผู้ป่วยสถานที่ที่ผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่ วันเริ่มป่วย และอาการสำคัญของผู้ป่วย
แพทย์ผู้ทำการรักษพยาบาล ต้องแจ้งชื่อที่อยู่และสถานที่ทำงานของตน ชื่อ อายุและที่อยู่ของผู้ป่วย สถานที่ที่ผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่ วันเริ่มป่วยและอาการสำคัญของผู้ป่วยวันแรกรับไว้รักษา การวินิจฉัยโรคขั้นต้น และสภาพผู้ป่วยขณะแจ้งความ
ผู้รับแจ้งความโรคติดต่อ
ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ในเขตจังหวัดนั้นๆ
นายอำเภอเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ในเขตจังหวัดนั้นๆ
หัวหน้าฝ่ายสาธารณสุขเมื่อพัทยา เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่เฉพาะในเขตเมืองพัทยา
ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ในเขตกรุงเทพมหานคร
กฎหมายกำหนดกฎเกณฑ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
2.ถ้าหากปรากฎว่ามีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักรรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมายมีอำนาจประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าในต่างประเทศนั้นๆเป็นเขตติดโรค
3.ค่าใช้จ่ายต่างๆที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ
.กำหนดให้ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมืองตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองเป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศไม่ว่าจะเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือไม่
โทษ
ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประกาศ มีโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้าเจ้าของยานพาหนะหรือผู้ควบคุมยานพาหนะไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข มีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บุคคลใดไม่แจ้งต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุข มีโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ผู้ควบคุมการระบาดของโรค
การแยกผู้ป่วย การเฝ้าดูอาการเมื่อมีเหตุสงสัยว่าอาจเป็นโรคติดต่อ การเคร่งครัดต่อมาตรฐานความปลอดภัยจะช่วยป้องกันกาแพร่ระบาดของโรคติดต่อ
ผู้แจ้งความโรคติดต่อ
ผู้ประกอบวิชาชีพซึ่งเป็นผู้ตรวจพบหรือรับผิดชอบสถานพยาบาลต้องแจ้งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่เมื่อพบหรือมีเหตุสงสัยว่าได้มีการป่วย
พุทธศักราช2558
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
ช่องทางเข้าออกแห่งใดในราชอาณาจักรให้เป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ และยกเลิกด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ชื่อและอาการสําคัญของโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ห้ามผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยังไม่ได้รับการตรวจ
4.เข้าไปในพาหนะและตรวจผู้เดินทาง สิ่งของ หรือสัตว์ที่มากับพาหนะ ตรวจตราและควบคุมให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะแก้ไขการสุขาภิบาลของพาหนะให้ถูกสุขลักษณะ
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ามาในราชอาณาจักรยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
5.ห้ามเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะนําผู้เดินทางซึ่งไม่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของคณะกรรมการเข้ามาในราชอาณาจักร
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะแจ้งกําหนดวัน เวลา และสถานที่พาหนะนั้น ๆ จะเข้ามาถึงด่าน
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พุทธศักราช2545
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา 5
บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมี
ประสิทธิภาพตามที่กำหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 6
บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา 5 ให้ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงานหรือหน่วยงานที่สำนักงานกำหนด
มาตรา 38
จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
วัตถุประสงค์
ค่าใช้จ่ายสนับสนุน
ส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข
มาตรา 42
ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก
การรักษาพยาบาลของหน่วยบริการโดยหาผู้กระทำผิดได้แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควรตามมาตรา41
เมื่อสำนักงานได้จ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการไปแล้วสำนักงานมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทำผิดได้
มาตรา60
เป็นการกระทําผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ําหลายครั้ง
ดําเนินการ
สั่งเพิกถอนการขึ้นทะเบียนของหน่วยบริการนั้น
2.แจ้งต่อรัฐมนตรีผู้รักษาการตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลเพื่อพิจารณา ดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
แจ้งต่อรัฐมนตรีผู้กํากับดูแลเพื่อให้มีการดําเนินการทางวินัยแก่ผู้บริหาร
4.แจ้งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีการสอบสวนและวินิจฉัยชี้ขาดข้อกล่าวหา
พุทธศักราช2550
มาตรา 5
บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา 6
สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ซึ่งมีความจําเพาะต้องได้รับการสร้างเสริมคุ้มครองอย่าง สอดคล้องและเหมาะสม
มาตรา 7
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
ปรัชญาและแนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพ
การจัดให้มีหลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
การบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพ
การส่งเสริม สนับสนุน การใช้และการพัฒนาภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้านสุขภาพการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและ การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ
การคุ้มครองผู้บริโภค
การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
การผลิตและการพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุข
การเงินการคลังด้านสุขภาพ
นางสาวพัชราภรณ์ ถิ่นชุมทอง เลขที่ 4 รุ่น 36/2 รหัสนักศึกษา 612001084
อ้างอิง:ชื่นมนัส จาดยางโทน.(2562).จริยธรรมวิชาชีพและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับการพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป.สืบค้น 14 พฤษภาคม 2563
จาก
http://www.bcnb.ac.th/bcnb/uploads/documents