Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย, นางสาวปิยธิดา จุ่นเจิม 36/1 เลขที่69 -…
การกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
ข้อบกพร่องที่พบบ่อย
การทบทวนวรรณกรรมไม่ดีพอจึง comment ไม่ได้
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ใช้ theoretical concept มาเขียน
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
Conceptual framework
เขียนแสดงตัวแปรไม่ครบทุกตัว
เลือกเขียนเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
การเขียน Conceptual
framework
ทำให้มีตัวแปรควบคุม
ทำให้อยู่ใน inclusion criteria
เปลี่ยนชื่อเรื่อง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
กำหนดขอบเขตการวิจัย
นักเรียน ครอบครัว ครู โรงเรียน
ปัจจัยด้านครูและนักเรียนคงที่
ปัจจัยด้านครอบครัวและโรงเรียนที่มีอิทธิพล
กำหนดขอบเขต เช่น เลือกศึกษาในโรงเรียนเดียว/ห้องเรียนเดียว
ใช้คำบรรยายประกอบแผนภาพ
วิธีการเขียน Conceptual
framework
สรุปและเขียนว่าความรู้ประเด็นนี้เป็นอย่างไร
มีเกณฑ์ช่วยในการอ่าน เพื่อที่นักวิจัยจะบอกว่า ความรู้เรื่องนี้เป็นอย่างไร
ทบทวนเอกสารและวรรณกรรมให้ครอบคลุม และทันสมัย
เขียนอธิบายความสัมพันธ์ สอดคล้องเกี่ยวข้อง ของตัวแปรและอธิบายเหตุผลที่ไม่ได้เขียนถึงตัวแปรครบทุกตัว
Conceptualization
ใช้ความรู้จากทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการเขียน
เขียนแล้วได้เป็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี
กระบวนการสร้างมโนทัศน์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงตามธรรมชาติ
Theoretical framework
เขียนครอบคลุมทุกตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
มักเขียนเป็น diagram
เขียนแสดงความสัมพันธ์ เชื่อมโยงของตัวแปรตามหลักการทางทฤษฎีที่มีอยู่
แบบจำลองที่นักวิจัยสร้างขึ้นจากทฤษฎีที่มีอยู่และจากผลการวิจัยที่มีอยู่ก่อนซึ่งเกี่ยวข้องกันแบบจำลองนี้จะนำไปสู่การวิจัยครั้งนี้ เพื่อที่จะศึกษาดูว่าเป็นเช่นนั้นหรือไม่
นางสาวปิยธิดา จุ่นเจิม 36/1 เลขที่69