Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ - Coggle Diagram
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
สายสะดือย้อย (Prolapsed of the umbilical cord)
การที่สาย สะดือของทารกในครรภ์ ย้อยต่ำลงไปข้างๆส่วนนำหรือต่ำกว่าส่วนนำ ของทารก (ศีรษะ หรือ ก้น) จึงทำให้ สายสะดือของทารกถูกกดเบียดเวลาที่มีการหดรัดตัวของมดลูกทำให้กดเบียดหลอดเลือดในรก
แบ่งเป็น 3 ชนิด
สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติ หรือลงมาอยู่ข้างๆส่วนนำของทารกในครรภ์
สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ และถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์
สาเหตุ
ทารกท่าผิดปกติ เช่น ท่าก้นชนิดมีเท้ายื่นเป็นส่วนนำท่าขวาง
ภาวะที่มีการผิดสัดส่วนของส่วนนำทารกกับช่องทางคลอด
การตั้งครรภ์แฝด / ครรภ์แฝดน้ำ
ทารกไม่ครบกำหนด
การตั้งครรภ์หลัง
การเจาะถุงน้ำ หรือถุงน้ำแตกก่อนที่ส่วนนำจะลงสู่ช่องเชิงกราน
สายสะดือยาวกว่าปกติ
รกเกาะต่ำ หรือสายสะดือเกาะบริเวณริมขอบรก
การรักษา
การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
การช่วยเหลือการคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย เนื่องจากทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
มีภาวะสายสะดือย้อย เนื่องจากพบสายสะดืออยู่ต่ำกว่าระดับส่วนนำของทารก หรือทารกในครรภ์ เสี่ยงต่อการได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากปริมาณเลือดที่ไหลเวียนไปสู่ทารกน้อยลงจากการเกิดภาวะ สายสะดือย้อย
เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย เนื่องจากมีน้ำเดินก่อนการเจ็บครรภ์
มารดาและครอบครัวมีความเศร้าโศก เนื่องจากการสูญเสียทารก
ภาวะรกค้าง (Retained placenta)
ภาวะที่รกไม่คลอดภายใน 30 นาทีหลังจากทารกคลอด โดยทั่วไปรกจะคลอดภายใน 10 นาที หลังจากที่ทารกคลอดแล้ว และไม่ควรเกิน 30 นาที ส่วนใหญ่ ร้อยละ 90 รกจะคลอดภายใน 15 นาที มีเพียงร้อยละ 2-3 เท่านั้นที่รกคลอดใช้เวลานานเกิน 30 นาที
แบ่ง 3 ชนิด
placenta increta ชนิดที่ trophoblast ฝังตัวลึกผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก แต่ไม่ถึงชั้นซีโรซา (serosa) พบร้อยละ 17
placenta percreta ชนิดที่ trophoblast ฝังตัวลึกทะลุชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนถึง serosa พบร้อยละ 5
placenta accreta ชนิดที่ trophoblast ฝังตัวลงไปตลอดชั้นสปอนจิโอซา (spongiosa) ของเยื่อบุ มดลูกอาจทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน แต่ไม่ผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก พบร้อยละ 75-78
สาเหตุ
การขาดกลไกการขับดัน ให้รกที่ลอกตัวแล้วผ่านออกมาภายนอก
สาเหตุส่งเสริม
การขาดกลไกการลอกตัว
การรักษา
ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยาเพื่อให้เกิดการคลายตัวของปากมดลูก
ถ้าให้ยาแล้วไม่อาจช่วยให้รกลอกตัวสมบูรณ์ และรกไม่สามารถคลอดออกมาได้ แสดงว่ารกฝังตัว ลึกต้องช่วยเหลือด้วยการล้วงรก (manual removal of the placenta)
ภาวะมดลูกปลิ้น (Inversion of the uterus or uterine inversion)
ภาวะที่ยอดมดลูกรั้งลงมา ส่วนล่างของโพรงมดลูก ซึ่งอาจพ้นปากมดลูกออกมา หรือโผล่ออกมาถึงปากช่องคลอด
แบ่งเป็น 3 ชนิด
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete inversion) ยอดมดลูกเคลื่อนต่ำลง แต่ยังไม่พ้น ปากมดลูก
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ (complete inversion) ยอดมดลูกเคลื่อนพ้นปากมดลูก แต่ยังไม่ถึงปาก ช่องคลอด
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่องคลอด (prolapsed of complete inverted
uterus)
สาเหตุ
1.รกเกาะบริเวณส่วนยอดของมดลูก
การดึงสายสะดือแรงเกินไป
3.ทำคลอดรกในขณะที่รกยังไม่ลอกตัว หรือรกเกาะแน่น
4.ดันยอดมดลูกที่หน้าท้องมารดามากเกินไป ในการช่วยทำคลอดรก
มดลูกและปากมดลูกอยู่ในภาวะคลายตัว
การรักษา
ถ้ารกลอกตัวแล้วให้เริ่มทำการดันมดลูกกลับได้ทันที
ดนัมดลูกกลบัภายใตก้ารดมยาสลบ โดยใชฮ้าโลเธน (halothane)
การป้องกันสิ่งที่สำคัญที่สุด เช่น การช่วยเหลือการคลอดรกอย่างถูกวิธี
ให้การรักษาสภาพทั่วไป
ภาวะมดลูกแตก (Uterine rupture / Rupture of the uterus)
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนงัมดลูก ในขณะตั้งครรภ์หลังจากทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์
แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ
มดลูกแตกสมบูรณ์ (Complete rupture) รอยแตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum)
มดลูกแตกไม่สมบูรณ์ (Incomplete rupture) รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneum
มดลูกปริ (Dehiscence) อาจไม่พบอาการอะไรเลย
สาเหตุ
รอยแผลผ่าตัดเดิม การทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก เช่น การทำคลอดด้วยคีม การทำคลอดท่าก้น การหมุนเปลี่ยน และการบาดเจ็บบริเวณช่องท้องอย่างรุนแรง (severe abdominal trauma)
การรักษา
แก้ไขสาเหตุของภาวะมดลูกแตกคุกคาม ถ้าคลอดทางช่องคลอดไม่ได้ ควรผ่าตัดคลอดทางหน้า ท้อง
แก้ไขภาวะช็อค
การผ่าตัดเปิดช่องท้อง (exploratory laparotomy)
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
ที่มีน้ำคร่ำพลัด เข้าไปในกระแสเลือดของมารดา
สาเหตุ
มีทางติดต่อกันของน้ำคร่ำกับหลอดเลือดของมารดา
มีรูรั่วหรือการแตกของถุงน้ำคร่ำ
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรงช่วยขับนน้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือดมารดา
การรักษา
การใหอ้อกซิเจน (oxygenation) อย่างเพียงพอ
การไหลเวยีนของเลือด (circulation) ต้องป้องกันความดันโลหิต และ left ventricular failure
การแข็งตัวของเลือด (coagulopathy) ต้องป้องกันและดำเนินการแก้ไขโดยเร็ว