Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
บทบาทผดุงครรภ์
การนำภูมิปัญญท้องถิ่นมาใช้ดูแล
ห้ามไม่ให้คุณแม่พึ่งคลอดขึ้นบรรไดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกจะหย่อน
ไม่ทำร้ายสัตว์หรือฆ่าสัตว์จะทำให้เด็กในท้องพิการ
ห้ามรับประทานน้ำมะพร้าวในช่วงตั้งครรภ์ระยะ
แรกเชื่อว่าจะทำให้แท้งได้
ไม่ให้รับประทานอาหารที่มีสีดำช่วงตั้งครรภ์เนื่องจากจะทำให้เด็กในท้องดำ
อ้างอิง 7ความเชื่อคนท้อง.สืบค้นวันที่ 14 พ.ค. 2563 จากเว็บwww.theasianparent.com
มาตรฐานที่ 1
การปฎิบัติผดุงครรภ์การทั่วไป
ให้ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและกำหนดแผนการดูแล
ประสานความร่วมมือระหว่างทีมการผดุงครรภ์ ทีมการพยาบาล
ทีมสหสาขาวิชาชีพและเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
ประยุกต์แนวปฎิบัติการผดุงครรภ์มาใช้ในการปฏิบัติการผดุงครรภ์ได้อย่างถูกต้อง
ใช้กระบวนการดุงครรภ์เป็นเครื่องมือนการดูแลผู้รับบริการ
ปฎิบัติการผดุงครรภ์แบบองค์รวม
จิตวิญญาณ
สังคม
จิต
กาย
มาตรฐานที่ 3
การดูแลในระยะคลอด
การทำคลอดที่ปลอดภัย
การช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
การดูแลในระยะรอคลอด
มาตรฐานที่ 5
ปฏิบัติการผดุงครรภ์เพื่อรักษาชีวิต การจัดการรักษาชีวิต
จากภาวะรกค้าง
การตกเลือดภายใน ๒๔ ชม. แรกหลังคลอด/หลัง ๒๔ ชม. หลังคลอด
จากการคลอดที่ยาวนานและจากการคลอดติดขัด
จากการติดเชื้อในกระแสโลหิตหลังคลอด
จากภาวะชักจากความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
จากภาวะขาดออกซิเจนของทารก
จากการเสียเลือดขณะตั้งครรภ์
มาตรฐานที่ 2
การดูแลก่อนและระหว่างการตั้งครรภ์
การประเมิน วางแผน และติดตามภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
ตรวจภาวะสุขภาพ5ระยะ
ให้คำแนะนำผู้รับบริการ
การตรวจครรภ์
การระบุสตรีตั้งครรภ์
การจัดการเบื้องต้นสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน
การดูแลภาวะครรภ์เป็นพิษ
การดูแลระดับน้ำตาลเฝ้า
ระวังโรคเบาหวาน
การเตรียมความพร้อมชีวิตครอบครัว
การเตรียมตัวเพื่อคลอด
มาตรฐานที่ 7
การพัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติการผดุงครรภ์
พัฒนาแนวปฏิบัติทางการผดุงครรภ์ให้ถูกต้องเหมาะสม และทันสมัย
พัฒนานวัตกรรมการผดงุครรภ์ที่ตอบสนองตอ่การให้บริการการผดุงครรภ์
ทบทวน ประเมินและปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติการผดุงครรภ์อย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ 6
การรักษาสิทธิผู้รับบริการ
ส่งเสริมและกำกับติดตามให้ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ปฏิบัติการ ผดุงครรภ์บนพื้นฐานจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ปกป้องและรักษาไว้ซึ่งสิทธิของผู้รับบริการการผดุงครรภ์
ปฏิบัติการผดุงครรภ์โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ วิชาชีพ
มาตรฐานที่ 8
การจัดการการดูแลต่อเนื่อง
พัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของผู้รับบริการและครอบครัว รวมทั้งประสานการใช้แหล่งประโยชน์ในการดูแล
ส่งต่อการดูแลผู้รับบริการที่ต้องการการดูแลต่อเนื่องทั้งภายในและ ภายนอกสถาน
มีระบบและกลไกติดตาม ประเมินผลการดูแลอย่างต่อเนื่อง และน าผล ไปพัฒนาคุณภาพการผดุงครรภ์
ประเมิน วางแผนและจัดการการดูแลต่อเนื่องร่วมกับทีมสุขภาพ ผู้รับบริการ และครอบครัว
มาตรฐานที่ 9
การบันทึกและรายงานการผดุงครรภ์
ติดตามประเมินและพัฒนาคุณภาพการบันทึกและรายงานการผดุงครรภ์ อย่างต่อเนื่อง
บันทึกข้อมูลสำคัญที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ ผู้รับบริการที่ถูกต้อง เป็นจริงและมีความต่อเนื่อง
รายงานการปฏิบัติการผดุงครรภ์ เพื่อสื่อสารในทีมการผดุงครรภ์ ทีมการพยาบาล และทีมสหวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้รับบริการได้อย่างถูกต้อง
บันทึกข้อมูลสำคัญ ๔ ส่วน ประกอบด้วย การประเมินภาวะสุขภาพ ปัญหา/ความต้องการของผู้รับบริการ กิจกรรมการผดุงครรภ์และการ ประเมินผลภายหลังปฏิบัติการผดุงครรภ์
มาตรฐานที่ 4
การดูแลหลังคลอด
การจัดการภายใน ๒ ชม. แรกหลังคลอด
แก้ไขภาวะอ่อนเพลีย
ดูแลภาวะแทรกซ้อน
การดูแลมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิด
การดูแลทารกแรกเกิด
จัดท่านอนทารกให้ถูก
จับทารกพาดบ่าหลังกินนมเสด