Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล, อ้างอิง : กัลยา ศรีมหันต์.…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาล
สิทธิเด็ก (Convention on the Right of the Child)
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
จากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
จากการแสวงหาประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ
เด็กที่ลี้ภัยจากอันตรายเข้ามาในประเทศของรัฐภาคี จะต้องได้รับการคุ้มครองและช่วยเหลือ
เด็กพิการและได้รับการส่งเสริมให้พึ่งพาตนเองได้
สิทธิในด้านพัฒนาการ
ทุกคนจะได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับ
พัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
ต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิในการมีส่วนร่วม
อนุญาตให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง
และสามารถแสดงความคิดเห็นโดยไม่กระทบสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลอื่น
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
รักษาไม่หายขาด
ระยะวิกฤต (Crisis)
เน้นการรักษา ดูแลประคับประคองทั้งร่างกายจิตใจ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน อันตรายที่จะเกิดกับชีวิตผู้ป่วย
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ทันทีทันใดเฉียบพลัน รุนแรงมาก
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย (Death / Dying)
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2 : สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกาย
ประเภท 0 : ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่ )
ประเภทที่ 5 : ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายท างานไม่ดี หรือไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6 : เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย
ไม่มีความหมายอายุ > 6 เดือน ผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiologicalreflexเพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง
ทารกอยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต
ช่วยให้เด็กผ่านช่วงเวลาของความตายโดยไม่ทุกข์ทรมาน ไม่ตายเพียงลำพัง
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible)
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับจึงกลัวการนอนหลับ
เข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์
วัยเรียน
เข้าใจความเป็นตัวของตัวเอง
เข้าใจความหมายของความตาย
เข้าใจได้ว่าตัวเองก็อาจจะตายในวันหนึ่ง
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
สนใจพิธีการในงานศพ
เข้าใจเรื่องโรค การวินิจฉัย และการพยากรณ์โรคได้
วัยรุ่น
ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุดเหมือนการลงโทษ
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การปรับตัวของเด็กขึ้นอยู่กับ
ความสารถของเด็กในการปรับตัวกับการเชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ระสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยเชิญกับความเจ็บป่วยครั้งก่อน
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยก่อนเรียน
เด็กที่ป่วยบ่อยหรือเจ็บป่วยเรื้อรังจะมีความยากลำบากในการเรียนรู้
วัยเรียน
หย่อนความสามารถเรื่องการเรียน การเล่นกีฬา
ทำให้รู้สึกสูญเสียการนับถือตนเองรู้สึกมีปมด้อย
วัยรุ่น
ความเชื่อมั่นในตนเองภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว : การสูญเสียความสามารถในการควบคุม
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ความตาย
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
การพยาบาลเด็กระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Critical care concept
Stress and coping
Pain management
Separation anxiety
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะปฏิเสธทุกอย่าง ไม่ยอมร่วมมือในการรักษา
ระยะปฏิเสธ(denial)
แต่หลีกเลี่ยงที่จะไปใกล้ชิดกับใครคนใดคนหนึ่ง ไม่กล้าเสี่ยงที่จะใกล้ชิดและไว้วางใจบิดามารดาอีกต่อไป
ระยะสิ้นหวัง(despair)
มีพฤติกรรมที่ถดถอย(regression)
การพยาบาลเด็กระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอำนาจต่อรอง
ความรู้สึกเศร้า
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรงของโรคที่เด็ก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
หลักการดูแลเด็ก
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุก
ระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่
บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
3.มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์แก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่อง และไม่ลำเอียงด้วยท่าทีที่เหมาะสมในลักษณะของการสนับสนุน
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและ
ครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
5.ลงมือปฏิบัติและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
6.ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะรวมทั้งเคารพวิธีการเชิญปปัญหาที่แตกต่างกัน
7.เคารพในความหลากหลายของเช้ือชาติ วัฒนธรรม ความเชื่่อ และสังคม เศรษฐกิจของครอบครัว
8.กระตุ้นและสนับสนุนเครือข่ายปกครอง
9.จัดบริการให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงได้และตอบสนองความต้องการของครอบครัว
แนวคิดและหลักการพยาบาล
การร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
Pain assessment
ประเมินจาก
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
ประเมินความเจ็บปวดถามเกี่ยวกับ
ความรุนแรงของความปวด
ตำแหน่งที่ปวด
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด :เจ็บตลอดเวลา เป็นๆหายๆ
ลักษณะการเจ็บปวด: เจ็บ ปวด แสบ ปวดแสบ ปวดร้อน
ผลกระทบต่อความปวด :หงุดหงิด ก้าวร้าว นอนไม่หลับ
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
CRIES Pain Scale
O2forSa O2>95%
ไม่ใช้ =0, <30%O2 =1, >30%O2=2
Vital signs
HRorBP</=preop=0, HRorBP<20% preop=1, HRorBP>20%preop=2
ร้องไห้
ไม่ร้อง=0, เสียงสูง=1, ปลอบไม่หยุด=2
การแสดงออก
ไม่มี=0, หน้าเบ้=1, หน้าเบ้/คราง=2
การนอนไม่หลับ
ไม่มี=0, ตื่นบ่อย=1, ตื่นตลอด=2
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
ร้องไห้
0=ไม่ร้อง, 1=ร้องคราง, 2=กรีดร้อง
การหายใจ
0=หายใจสม่ำเสมอ, 1=หายใจเร็วขึ้นหรือช้าลงหรือกลั้นหายใจ
สีหน้า
0=เฉยๆสบาย, 1=แสยะ เบ้ปาก จมุกย่น คิ้วย่น ปิดตาแน่น
แขน
0=วางสบายๆ, 1=งอ
ขา
0=วางสบายๆ, 1=งอ/เหยียด
ระดับการตื่น
0=หลับ/ตื่น, 1=กระสับกระส่ายุวุ่นวาย
0-7 คะแนน > 4 = pain ให้ยาแก้ปวด
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 4-13
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
การแปลผล
การแปลผล
4 = ไม่ปวด
5-7 = ปวดน้อย
8-10 = ปวดปานกลาง
11-13 = ปวดมาก
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
การแปลผล
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
Numeric rating scales
1.คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กวัยเรียนขึ้นไป ซักถามถ้าไม่ปวดเลย ให้ 0 ปวดมากที่สุดให้ 10 ขณะนี้ปวดเท่าใด
การแปลผล
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
facial scales
คือ การใช้รูปภาพแสดงสีหน้าบอกความรู้สึกปวด
Scale
Faces scale
หลักการประเมินความปวด
ประเมินก่อนให้การพยาบาล เพื่อเป็นสมมติฐาน และหลังให้การพยาบาล เพื่อประเมินผล
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง โดยประเมินทั้งขณะพักและขณะทำกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย และควรใช้วิธีเดียวกันตลอดการให้การพยาบาลนั้นๆ
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง หรือไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจากการประเมินอาจได้ข้อมูลไม่ครอบคลุมหรือไม่ถูกต้องทั้งหมด
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคำถามนำอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง หรือคำถามที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์เศร้า
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้คำพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี และเชื่อในคำบอกเล่าของผู้ป่วย
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจและบุคลิกภาพของผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูล
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด หรือสังเกตพฤติกรรม
อ้างอิง : กัลยา ศรีมหันต์. (2563). บทที่ 8 ระบบทางเดินหายใจ. 7 มิ.ย. 63.
https://classroom.google.com/w/NzMzNjU4Njc4NDla/t/all
.
นางสาววิยะดา ลินลา 36/2 เลขที่27