Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 แนวคิด ทฤษฎีบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่1 แนวคิด ทฤษฎีบริหารทางการพยาบาล
ความหมายของการบริหาร
บุคคลทำงานอย่างสำเร็จบรรลุเป้าหมาย โดยผ่านผู้อื่นดำเนินตั้งแต่2คนขึ้นไปโดยนำศสาตร์มาร่วมกันดำเนินเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การโดยผู้บริหารเป็นผู้จัดการด้านทรัพยากร เป็นผู้ตัดสินใจและผู้ชี้นำ
*ทฤษฏีการบริหารโดยใช้พฤติกรรมศาสตร์
-Elton Mayo พบว่าวิะีการทดลองของประสิทธิภาพในการทำงานได้โดยผู้บริหารต้องทุ่มเทสนใจปัญหาและความต้องการของมนุษย์
เน้นลักษณะผลกระทบต่อพฤติกรรมของคนในองค์กร
Dougias Mc Gregorgเจ้าของทฤษฏี X และY
William G.Quchi เป็นแนวคิดการบริหารแบบญี่ปุ่น
โดยอเมริกานำมาประยุกต์เป็นรูปแบบวิธีการทำงานแบบกลุ่มคุณภาพโดยใช้แนวคิดว่าการบริหารจะให้ผลดีกว่า ถ้าให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของบุคคลากรในการตัดสินใจบริหารนั้นคือให้ความสำคัญกับกลุ่มคนไม่ใช่ตัวบุคคลแนวคิดนี้เรียกว่าทฤษฏีZ
ความสำคัญของการบริหาร
-
ช่วยให้บุคคลากรพยาบาลร่วมกันทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
-ช่วยชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มความสำเร็จขององค์กรในอนาคต
-ช่วยให้องค์กรพยาบาลมีความก้าวหน้าการคงอยู่อย่างยั่งยืน
-เป็นการแสดงถึงความสามารถของผู้บริหารการพยาบาลที่ต้องเครื่องมือในการวินิจฉัยสั่งการโดยจะต้องคำนุงถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมต่างๆ
-เป็นเครื่องมือช่วยให้บุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติหไน้าที่ที่มีคุณภาพต่อผู้ใช้บริการ
แนวคิดที่ประกอบรวมเป็นแนวคิดการดูแลเพื่อเพื่อนมนุษย์
1.แนวคิดองค์รวม( Holistic care)
2.แนวคิดการเห็นอกเห็นใจกัน (Empathy)
3.แนวคิด-ค่านิยมสำหรับHumanized health care
4.แนวคิดเรื่องระดับการพัฒนาสุขภาวะทางปัญญา
แนวคิดการบริหาร
:+1:
*การบริหารที่มุ่งผลงาน (Task center)
มีแนวคิดมุ่งงานเป็นหลักจะกำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด จะ"ปรับคนให้เข้ากับงาน"มองผลงานและกำไรสำคัญ
*
:+1:
การบริหารที่มุ่งตัวบุคคล (Personal center)
แนวคิดให้ความสำคัญกับคน "ปรับงานให้เข้ากับคน"หรือเรียกอีกอย่างว่า "แนวทางแบบมนุษย์สัมพันธ์
"
:+1::
การบริหารที่มุ่งคนและงาน (Modem development)
แนวคิดที่ผสมผสานระหว่างการบริหารที่มุ่งตัวที่บุคคลและมุ่งผลงานจึงเป็นการมองระบบความสัมพันธ์ทั้งคน องค์กร ระบบสังคน
:+1:**การบริหารที่มุ่งถึงประสิทธิภาพตามสถานการณ์ แนวคิดนี้เชื่อวาไม่มีวิธรบริหารใดที่ดีที่สุดหากขึ้นอยู่กับ ความจำเป็นของสถานการณ์นั้นๆ
องค์ประกอบการบริหาร
1.ปัจจับนำเข้าหรือตัวป้อนต้นทุน(Input)
ทรัพยากรทางการบริหารคือ 4M'sประกอบด้วย คน(Man)เงิน (Money)วัสดุอุปกรณ์(Material)และวิธีจัดการ(Management)
2.กระบวนการบริหาร (process)
ประกอบด้วยการวางแผน(Planning)การนำแผนสู่การปฏิบัติ(Implementation)และการประเมินผล(Evaluation)
**
3.ผลิตผลหรือผลลัพธ์ หรือผลการบริหาร(product or output)
ผลทั้งหมดที่เกิดจากบริหาร หากมองในเชิงการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารแบบดั้งเดิม (Classical Theory
-Frank Bunke Gillbreth
ศึกษาความเบื่อหน่ายและผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีต่อคนงาน
- Frederick Winslow Taylor
เป็นนักบิดาทฤษฏีบริหารเชิงวิทยาศาสตร์
- Henry L.Gantt
การนำเอาเท๕นิคการจัดการจัดตารางสำหรับการควบคุมการปฏิบัติงานมาใช้ยังคงแพร่หลายในปัจจุบัน
1.ทฤษฏีบริหารเชิงวิทยาศาสตร์
ใช้วิธีการตั้งปัญหาเพื่อหาแนวทางไปสู่จุดหมายที่ต้องการเน้นการบริหารที่ตัวงาน
ทฤษฏีการจัดการเชิงบริหาร
Henry Fayol ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการเชิงบริหาร เขาเชื่อว่าผู้บริหารจะประสบผลสำเร็จได้ต้องเข้าใจหน้าที่พื้นฐานของผู้บริหารที่ต้องปฏิบัติไว้5ประการ
POCCC-Luther Gulick and Lyndall Urwick ได้เพิ่มกระบวนการบริหารของ Fayol เป็น7ประการในPOSCoRB
ทฤษฏีระบบราชการนักทฤษฏี
คือ max Weber เป็นทฤษฏีที่เสนอแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์กรเน้นการมีเหตุผลเป็นสำคัญ กรใช้อำนาจในสังคมทั้งแง่เศรษฐกิจแลการเมือง
ทฤษฏีบริหารร่วมสมัย (Contemporary Theory)
การบริหารงานบบวัตถุประสงค์ (Management by objective:MBO)
การบริหารใช้หลักการของการบริหารที่จัดให้แต่ละบุคคลได้ทำงานและมีความรับผิดชอบเต็มที่มีทิศทางในการทำงานที่ชัดเจน มีการทำงานเป็นทีม
ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์
มุ่งเน้นว่าในทางปฏิบัติไม่มีวิธีบริหารใดที่ดี
ทฤษฎีระบบ(System Theory
) ทุกสิ่งทุกอย่างมีความเกี่ยวข้องกันระบบหนึ่งย่อมประกอบด้วยหน่วยย่อยอื่นๆ ประกอบด้วยสิ่งนำเข้าซึ่งคือ ทรัพยากรต่างๆ เช่น วัสดุ อุปกรณ์ เงิน ข้อมูลข่าวสาร กระบวนการ เป็นความสามารถในการบริหารเทคโนโลยี เช่นการวางแผน การจัดส่วนสิ่งนำออก (Out put)ประกอบด้วยการให้บริการผลลัพธ์อื่นๆที่องค์กรจัดขึ้น ข้อมูลลย้อนกลับ (Feed back)เกี่ยวกับผลการให้บริการและสถานะขององค์การที่เกี่ยกับสภาพแวดล้อมและนักทฤษฎีที่ใช้คือ Herbert G. Hicks
ทฤษฏีบริหารที่เกิดขึ้นใหม่ (Emerging Theore)
การวางแผนองค์กร คือการวางแผนกลยุทธ์สามารถปรับตัวด้านการวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพ
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร(Corporate culture)
แนวคิดที่เสริมสร้างประเพณีปฏิบัติและค่านิยมสำหรับทุกฝ่ายในองค์กรเพื่อเป็นเครื่องยึดมั่นและเป็นแนวทางให้ทุกฝ่ายปฏิบัติ
ปัจจัยที่1Hard Ss
เป้นอุปกรณ์แห่งความสำเร็จได้แก่
-โครงสร้าง(Structure)
-กลยุทธ์(Strategy)
-ระบบ(System)
ปัจจัยที่2 Soft Ss
ส่วนเนื้อหาแห่งความสำเร็จได้แก่
-การบริหาร(Style)
-ค่านิยมร่วม (Shared values) หรือเป้าหมายสูงสุด
ทฤษฏีทัศนะเชิงคุณภาพ
เน้นการบริหารคุณภาพองค์กร(Total Quality Management T.Q.M)
แนวคิดการบริหารที่ยึดคุณภาพเป็นหัวใจของทุกเรื่อง โดยมีหลัก
การยึดลูกค้าเป็สำคัญ (Customer Focus)
ปรับปรุงกระบวนการ(Process Improvement)
มีส่วนร่วมทั้งองค์กร (Total Improvement)
ทฤษฎีการบริหารเชิงพุทธ
มักถูกนำเสนอในเชิงหลักการเกี่ยวกับคน เช่น ผู้บริหารกับทศพิธราชธรรมและพรหมวิหารสี่ (เมตตา กรุณา มุฑิตา อุเบกขา)
สำหรับด้านการวางแผนงานนั้นพระพุทธเจ้าทรงสอนไวใน สัปปุริสธรรม7 ประการ
รู้หลักการ
รู้จุดหมาย
รู้ตน
รู้ประมาณ
รู้กาล
รู้ชุมชน
รู้บุคคล