Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มอดุลที่ 3 การเลือกใช้วัสดุสำหรับจิ๊กฟิกซ์เจอร์, นางสาวรัตนาพร อยู่คอน…
มอดุลที่ 3 การเลือกใช้วัสดุสำหรับจิ๊กฟิกซ์เจอร์
3.3 วัสดุใช้ทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ที่เป็นเหล็ก
3.3.1 เหล็กหล่อ (Cast iron)
นำมาทำเป็นลำตัวของจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ (Tool Body) และส่วนประกอบบางส่วนที่ทำออกมาเพื่อการขายสำหรับทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ แต่ โดยทั่ว ๆ ไปแล้วเหล็กหล่อจะถูกวัสดุอย่างอื่นที่ราคาถูกกว่าและเสียเวลาในการ ขึ้นรูปแทน เพราะการใช้เหล็กหล่อมีข้อเสียมากมายอยู่อย่างหนึ่งก็คือต้องใช้เวลา ทำอย่างมาก
3.3.2 เหล็กเหนียวผสมคาร์บอน
ใช้ทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ด้วยคุณสมบัติในการขึ้นรูปต่าง ๆ ได้ง่ายราคาต่ำ หาได้ง่ายและใช้งานได้อย่างกว้าง
เหล็กเหนียวผสมคาร์บอนกลาง
ใช้ทำเป็นตัวยึดจับชิ้นงาน (Clamps) สลักเดือย (Studs) แป้นเกลียว (Nuts) และชิ้นส่วนหรือพื้นที่ของเครื่องมือที่ต้องการความเหนียว มีปริมาณ คาร์บอนที่ 0.3-0.5 %
เหล็กเหนียวผสมคาร์บอนสูง
ใช้ทำเป็นปลอกนำดอกสว่าน (Drill Bushings) ตัวกำหนดต่ำแหน่ง
(Locators) และตัวรองรับชิ้นงาน (Supports) มีปริมาณคาร์บอนที่ 0.5-2.0%
เหล็กเหนียวผสมคาร์บอนต่ำ
ใช้ทำเป็นแผ่นฐาน (Base Plates) หรือตัวรองรับ (Supports) มี
ปริมาณคาร์บอนในเหล็กอยู่ระหว่าง 0.05-0.03%
3.3.3 เหล็กเหนียวผสมธาตุพิเศษ
ไม่ค่อยนำมาทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์เพราะเหตุว่าราคา
ของเหล็กชนิดนี้มีราคาสูงมาก
แมงกานีส ควบคุมซัลเฟอร์, เพิ่มความแข็ง
คาร์บอน เป็นตัวทำให้เกิดความแข็ง
โครเมียม ป้องกันการกัดกร่อน
ซิลิคอน มีการไหลตัวดี ป้องกันออกไซด์
ซิลิคอนและแมงกานีส ทำแข็งได้ดี
อะลูมินัม ป้องกันออกไซด์ (ดัดแปลงง่าย น้ำหนักเบา ไม่ชุบผิว)
3.3.4 เหล็กทำเครื่องมือ
เหล็กทำเครื่องมือถูกใช้ในการทำจิ๊กฟิกซ์เจอร์สำหรับชิ้นส่วนที่ต้องการรับแรงเครียด (Stressed) อย่างสูงหรือชิ้นส่วนที่ต้องต้านทานการสึกหรออย่างมาก ในขณะที่เหล็กเหนียวคาร์บอน และเหล็กเหนียวผสมสามารถที่จะนำมาใช้งาน
3.2 สมบัติต่าง ๆ ของวัสดุที่ใช้ทำจิ๊กฟิกซ์เจอร์
ความแข็ง (Hardness)
ความสามารถของวัสดุที่ต่อต้านการแทงทะลุผ่านหรือต่อต้านการทำให้เป็นรอย
ความเหนียว (Toughness)
เป็นความสามารถของวัสดุที่รองรับน้ำหนักหรือแรงกระแทกซ้ำ ๆ โดยปราศจากการ
เปลี่ยนแปลงของวัสดุนั้นอย่างถาวร
การต้านทานการสึกหรอ (Wear resistance)
เป็นความสามารถของวัสดุที่จะต่อต้านการขัดถูของวัสดุหรือโลหะอื่น ๆ
ความสามารถในการตกแต่ง (Machinability)
มีสิ่งต่าง ๆ ที่นำมาพิจารณาถึงความสามารถในการตกแต่ง
อายุการใช้งาน (Tool Life)
ความเรียบของผิวหน้า (Surface Finish)
อัตราในการตัด
(Cutting Speed)
ความแข็งแรงต่อแรงเฉือน (Shear Strength)
ความเปราะ (Brittleness)
ความแข็งแรงต่อแรงดึง (Tensile Strength)
3.1 หลักการเลือกใช้วัสดุสำหรับสร้างจิ๊กฟิกซ์เจอร์
นักออกแบบจิ๊กและฟิกซ์เจอร์จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติละคุณลักษณะ
ต่าง ๆ ของวัสดุทั่วไป สำหรับการสร้างจิ๊กและฟิกซ์เจอร์เสียก่อน
ความสามารถในการดัดแปลง
ความทนทานในการนำไปใช้งาน
ความประหยัดจะถูกนำมาพิจารณาก่อนที่วัสดุจะถูกเลือกมาใช้งาน
ความรับผิดชอบต่อการเลือกวัสดุ ควรใช้วัสดุชนิดใด เพื่อนำมาทำจิ๊ก
และฟิกซ์เจอร์ให้ได้ผลดีที่สุด
3.4 วัสดุใช้ทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ที่ไม่ใช่เหล็ก
ไม้
ใช้สำหรับจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ที่มีการผลิตที่จำกัดซึ่งไม่ต้องการความเที่ยงตรง
นัก ปกติแล้ววัสดุชนิดนี้จะถูกนำมาใช้งานในรูปแบบหลายๆลักษณะ ได้แก่ ไม้อัด
ยางยูเรเทน
ความสามารถในการควบคุมการยุบตัวของมันเองดังตัวอย่าง ตัวยึดจับ
ชิ้นงานต้องการที่จะยึดจับชิ้นงานโดยที่ไม่ท าให้ผิวหน้างานเกิดความเสียหาย
แมกนีเซียม
โลหะชนิด นี้จะมีน้ำหนักเบาและดัดแปลงได้ง่าย และมีอัตราส่วนระหว่างความแข็งแรงและน้ำหนักสูง แมกนีเซียมสามารถที่จะตกแต่งได้เร็วกว่าอะลูมิเนียมหรือเหล็กมาก
อีป็อคซีและพลาสติกเรซิน
เพื่อทำเป็น ตัวยึดจับชิ้นงานแบบพิเศษ ปากกาจับงานแบบรังและหัวจับที่ทำด้วยอีป็อกซีหรือพลาสติกเรซินจะมี ความเหนียว ดัดแปลงง่ายและราคาถูก
อะลูมิเนียม
นิยมใช้กันมากที่สุด คือ ความสามารถในการตกแต่ง ความสามารถในการดัดแปลงได้ง่าย และน้ำหนักเบา อะลูมิเนียมสามารถ ทำออกมาได้หลายแบบฟอร์มซึ่งทำให้การใช้ประโยชน์ได้เพิ่มมากขึ้น ข้อดีอื่น ๆ ของอะลูมิเนียม คือ ไม่ต้องผ่านกระบวนการอบชุบหรือวิธีการเพิ่มความแข็ง
บิทมัท
ใช้ในการทำจิ๊กเละฟิกซ์เจอร์ที่อยู่ในรูปแบบของธาตุที่มีจุด หลอมเหลวต่ำโลหะผสมบิสมัทถูกใช้สำหรับทำปากกาจับชิ้นงานชนิดพิเศษ เช่น แบบรัง หรือแบบหัว จับปากกา
วัสดุพวกนี้ไม่ได้ใช้อย่างกว้างขวางในการทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์มากกว่า วัสดุที่เป็นเหล็ก โลหะที่ไม่ใช่เหล็กนี้มีข้อดีเกี่ยวกับน้ำหนักแล้วความสามารถใน การใช้งานให้จิ๊กและฟิกซ์เจอร์มีค่าใช้จ่ายต่ำลงและใช้งานได้คล่องตัวขึ้น
นางสาวรัตนาพร อยู่คอน TIE2N รหัส 61322110001-0