Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอนามัยโรงเรียน ตอนที่2, จัดทำโดย นางสาวปุณฑริกา สิทธิ 610301085 -…
การอนามัยโรงเรียน ตอนที่2
บริการอนามัยโรงเรียน
เรื่องห้องพยาบาล
ลักษณะห้องพยาบาลที่ดี
อยู่ชั้นล่าง, ความยาวไม่น้อยกว่า6m,
ห่างจากสิ่งรบกวน, สะอาด, แสงสว่างเพียงพอ,
อากาศถ่ายเท, มีส้วมและ อ่างล้างมือ
จำนวนเตียง
นร. 1500 = 4 เตียง
นร.500-1000 = 2 เตียง
นร. < 500 = 1 เตียง
ตู้ยา
ชั้นบน : ยารับประทาน
กลาง : เครื่องมือปัจจุบันพยาบาล
ล่าง : ยาใช้ภายนอก
ล่างสุด : ตู้ทึบ ใส่อุปกรณ์อื่นๆ
การป้องกันและควบคุมโรค
จุดมุ่งหมาย
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่อ
เพื่อให้ความรู้เรื่องการ
ป้องกันโรคที่ถูก
ตรวจสุขภาพ, สร้างภูมิคุ้มกันโรค, ปรับปรุงสุขาภิบาล,
เฝ้าระวังโรคติดต่อ, บริการสุขศึกษา, นักเรียนป่วยหยุดชั่วคราว
Ex. คอตีบ, อีสุกอีใส, มือ เท้า ปาก
เพื่อควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
สุขศึกษาในโรงเรียน
ความหมาย
โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพให้สอดคล้อง
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้มีสุขนิสัย
สุขภาพการและจิตที่ดี
จุดเน้น
ป.1-3 : เน้น การปฏิบัติ
ป.4-6 : เน้นความรู้/ทัศนคติมัธยม
มัธยม : เน้นทัศนคติ/ความรู้
วิธีการอภิปรายแลกเปลี่ยน
การจัดการสิ่งเเวดล้อมใน
โรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
นิยาม
ควบคุมดูแลและปรับปรุงสิ่งเเวดล้อมต่างๆในโรงเรียนให้อยู่ในสภาพที่ดี เพื่อให้ปลอดภัยจากโรค การเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุต่างๆ
ประกอบด้วย
การรักษาความสะอาด สนาม ห้องเรียน โต๊ะเรียน กระดานชอล์ก น้ำดื่ม ส้วม การกำจัดขยะมูลฝอย การป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน
ห้องเรียน
ความเข้มแสง 30 แรงเทียน
ความดังไม่เกิน 30-40 dB
โต๊เรียน
เเถวหน้าสุด ห่างกระดาน2m
แถวหลังสุด ไม่ควรห่างกระดานเกิน 9m
ทางเดินระหว่างเเถว ไม่น้อยกว่า45cm
เเถวริมห่างจากผนังห้อง
ไม่น้อยกว่า60cm
ส้วม (ที่/คน)
ประถม
ส้วม ช 1/60 ที่ปัสสาวะ 1/30
ส้วม ญ 1/30
มัธยม
ส้วม ญ 1/50
ส้วม ช 1/90 ที่ปัสสาวะ 1/30
ที่ล้างมือ ช-ญ 1/50
โภชนาการและ
อาหารที่ปลอดภัย
จัดอาหารที่มีคุณค่า ถูกหลัก ปลอดภัย และครบ5หมู่
ประถม
ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด (60mg)
ได้รับการตรวจภาวะขาดไอโอดีน
โดยวิธีคลำคอ ปีละ1ครั้ง
ความสัมพันธ์ระหว่าง
โรงเรียนเเละชุมชน
บ้าน
โรงเรียน
วัดหรือศาสนสถาน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
เเนวคิด
นำข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
สามารถดูแลสุขภาพของตนเองเเละผู้อื่น
ตัดสินใจเเละควบคุมสภาวการณ์และ
สิ่งเเวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ความร่วมมือใน
การดำเนินงาน
ภาครัฐ ครอบครัว นักเรียน ชุมชน
โรงเรียนที่มีความร่วมมือร่มใจกันพัฒนาพฤติกรรม เเละสิ่งเเวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ
เพื่อการมีสุขภาพที่ดีของทุกคนในโรงเรียน
องค์ประกอบ
มีนโยบายของโรงเรียน
มีการบริหารจำการในโรงเรียน
มีโครงการร่วมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การจัดการสิ่งเเวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
มีบริการอนามัยโรงเรียน
มีสุขศึกษาในโรงเรียน
มีโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร กีฬา และนันทนาการ
มีการออกกำลังกาย กีฬา และนันทนาการ
มีการมห้คำปรึกษา และสนับสนุนทางสังคม
มีการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
ขั้นตอนการ
ดำเนินงาน
สร้างความสนับสนุนของ
ชุมชนเเละท้องถิ่น
จัดตั้งคณะกรรมการ
วิเคราะห์สถานการณ์
กำหนดจุดเริ่มต้นในการทำงาน
จัดทำเเผนปฏิบัติการ
ติดตามเเละประเมินผล
พัฒนาเครื่อข่ายระดับท้องถิ่น
กระบวนการพัฒนาโรงเรียน
ส่งเสริมสุขภาพPDCA
การวางเเผนการดำเนินงาน (Plan)
การปฏิบัติการ (Do)
การตรวจสอบ ทบทวน เเละประเมิน (Check)
การปรับปรุงเเก้ไข/พัฒนา (Act)
เกณฑ์การตัดสินให้คะเเนน
ในเเต่ละองค์ประกอบ
75%ขึ้นไป = ผ่านเกณฑ์ขั้นดีมาก
65-74% = ผ่านเกณฑ์ขั้นดี
55-64% = ผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐาน
น้อยกว่า55% = ไม่ผ่านเกณฑ์
ประกาศรับรองเป็น
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ระดับเพชร / ทองคำ / เงิน / ทอง
บทบาทเเละหน้าที่ของพยาบาล
ในการบริการอนามัยโรงเรียน
ด้านการป้องกันโรค
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค
จัดสิ่งเเวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
ด้านการรักษาพยาบาล
ให้การรักษาเเก่นักเรียนที่ป่วย ถ้ารักษาไม่ได้ เช่นฟันผุ
ไส้ติ่งอักเสบ นำนักเรียนส่งไปรับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป
ด้านการส่งเสริมสุขภาพ
ค้นหานักเรียนที่เป็นโรค ให้ความรู้แก่บุคลากร
เเละนำไปปฏิบัติ ลงบันทึกบัตรสุขภาพ
ส่งเสริมการออกกำลังกาย
ด้านการฟื้นฟูสภาพนักเรียน
ฟื้นฟูสภาพนักเรียนหลังเจ็บป่วยให้สุขภาพดีดังเดิม
และฟื้นฟูสภาพนักเรียนที่สายตาผิดปกติหรือมีการได้ยิน ผิดปกติเพื่อมิให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียน
จัดทำโดย นางสาวปุณฑริกา สิทธิ 610301085