Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคาดคะเนการเสียเลือด - Coggle Diagram
การคาดคะเนการเสียเลือด
ภาวะตกเลือดหลังคลอด(postpartum hemorrhage)
การผ่าตัดคลอดมากกว่าหรือเท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร
ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงลดลงมากกว่าร้อยละ 10 จากก่อนคลอด
กระบวนการคลอดปกติ มากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตร
ชนิดและความรุนแรงของการตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอด แบ่งตามระยะเวลาของการตกเลือดได้ 2 ชนิด
การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก (Primary or early postpartum hemorrhage) หมายถึง การตกเลือดที่เกิดขึ้นตั้งแต่หลังคลอดทันทีจนถึง 24 ชั่วโมง หลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง (Secondary or late postpartum hemorrhage) หมายถึง การตกเลือดที่เกิดขึ้นในระยะ 24 ชั่วโมงจนถึง 12 สัปดาห์หลังคลอด
ระดับความรุนแรงของการตกเลือดหลังคลอด
ระดับเล็กน้อย (Mild PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 500 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรง (Severe PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 1,000 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรงมาก (Very severe or major PPH) คือ สูญเสียเลือดตั้งแต่ 2,500 มิลลิลิตรขึ้นไป
สาเหตุของการตกเลือดหลังคลอด
Trauma คือ การฉีกขาดของช่องทางคลอด
Tissue คือ การมีเศษรกเนื้อเยื่อหรือรกค้าง
Tone มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Thrombin คือ ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ปัจจัยเสี่ยงของการตกเลือดหลังคลอด
การมีเลือดออกในขณะตั้งครรภ์หรือมีประวัติตกเลือดหลังคลอดการติดเชื้อ (Sepsis)ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ทารกตายในครรภ์รกลอกตัวก่อนกำหนด ได้รับยาเสตียรอยด์เพื่อรักษาทารกในขณะตั้งครรภ์ มีโรคเลือดก่อนการตั้งครรภ์ เช่น hemophilia, thalassemia
ครรภ์เป็นพิษ (Preeclampsia) น้ำคร่ำติดเชื้อ (Chorioamnionitis) รกเกาะต่ำ (Placenta previa) รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio placenta)
การคลอดก่อนกำหนด การติดเชื้อของรกและน้ำคร่ำ การเคยผ่าตัดเนื้องอกมดลูกมาก่อน การเคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
มารดาอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 35 ปีขึ้นไป
ทารกตัวโต (Fetal macrosomia) ทารกมีส่วนนำที่ไม่ใช่ศีรษะ การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด (Forceps or vacuum)
การตัดแผลฝีเย็บ การคลอดเฉียบพลัน การคลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดงของภาวะตกเลือดหลังคลอด
ระดับที่ 2 ปริมาณการสูญเสียเลือดร้อยละ 20-25 (1,000-1,500 มิลลิลิตร) พบอาการอ่อนแรง เหงื่อออก ชีพจรเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิตต่ำเล็กน้อย (80-100 มิลลิเมตรปรอท)
ระดับที่ 3 ปริมาณการสูญเสียเลือดร้อยละ 30 (1,500-2,000 มิลลิลิตร)พบอาการกระสับกระส่าย ซีดปัสสาวะออกน้อย ชีพจรเต้นเร็วมากกว่า 120 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิตลดลงอยู่ในช่วง 70-80 มิลลิเมตรปรอท
ระดับที่ 1 ปริมาณการสูญเสียเลือดร้อยละ 15-20 (500-1,000 มิลลิลิตร)มีอาการใจสั่น มึนงง ชีพจรและ ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ระดับที่4 ปริมาณการสูญเสียเลือดมากกว่า 2,500 มิลลิลิตร พบอาการหมดสติ ขาดอากาศหายใจ ไม่มี ปัสสาวะ ชีพจรเต้นเร็วมากกว่า 140 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิตลดลงอย่างมากอยู่ ในช่วง 50-70 มิลลิเมตรปรอท