Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสาธารณสุขในประเทศไทย - Coggle Diagram
ปัญหาสาธารณสุขในประเทศไทย
สถานการณ์
ด้านเศรษฐกิจ
ลักขโมยมากขึ้น
เศรษฐกิจทีซบเซา
แรงงานต่างด้าวเพิมมากขึน
ด้านสิ่งแวดล้อม
PM 2.5
ปัญหาไฟป่าและฝุ่นควันในภาคเหนือ
ภัยธรรมชาติ
ด้านบุคคล
ความเครียด
อุบัติเหตุจากการดืมแอลกอฮอล์
ความขัดแย้งภายในประเทศ
office syndrome จาก work from home
การใช้ความรุนแรงในสังคม
อัตราการฆ่าตัวตายมีโอกาสเพิ่มขึ้น
ผู้สูงอายุเพิ่ม
การว่างงาน
ปัญหาการใช้ยาเสพติด
ท้องก่อนวัยอันควร
ถูกล่วงละเมิดทางเพศ
ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้ง
ภาวะซึมเศร้า
ความรุนแรงทางเพศ
เด็กติดเกมส์
การใช้สื่อออนไลน์ในทางที่ไม่เหมาะสม
ภัยคุกคามจากสื่อออนไลน์
ไม่ป้องกันในการมีเพศสัมพันธ์
ด้านสาธารณสุข/การแพทย์
ขาดแคลนทรัพยากรทีใช้ในการป้องกันโรค
บุคลากรทางการแพทย์ทํางานหนักมากขึ้น
โรคติดต่อ
อัตราการเกิดลดลง
ปัญหาขาดบุคลากรทางการแพทย์
ปัญหาทําแท้ง
การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ:โควิด 19
NCDs
ปัญหาสุขภาพ
ระดับท้องถิ่น
ด้านสิ่งแวดล้อม
ปัญหาทางการเกษตร
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่เหมาะสม เช่น การทิ้งขยะลงแม่น้ำที่ใช้ อุปโภคและ บริโภค
โรคจากธรรมชาติ เช่น โรคฉี่หนูที่เกิดจากน้ำท่วมขังในชุมชน
ปัญหาโรงงานปล่อยน้ำเสียลงสู่แม่น้ำ
ปัญหามลพิษทางอากาศจากไฟป่า
โรคติดต่อจากสัตว์สู่คนในแหล่งชุมชน
การเพิ่มขึ้นของขยะเป็นจำนวนมาก
ด้านบุคคล
การรับประทานอาหารที่มีสารเคมี
พฤติกรรมการบริโภค
ขาดแคลนรายได้
เยาวชนติดสารเสพติด
ทุพโภชนาการ
ระดับประเทศ
ด้านบุคคล
ปัญหาเกี่ยวกับสภาพจิต
ความเครียดจากการได้รับผลกระทบ
สารเคมีในการเลี้ยงสัตว์ คนบริโภคทําให้เป็นโรค
ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
การใช้สารเสพติด
ด้านสิ่งแวดล้อม
สถานที่อาศัยที่ไม่เอื้ออำนวย
ด้านสาธารณสุข/การแพทย์
ปัญหาการควบคุมโรค
การจัดการของระบบสุขภิบาลที่ยังไม่ได้มาตรฐาน
การเข้าถึงบริการสาธารณะสุขตติยภูมิ
ปัญหาโรคเรื้อรัง ในกลุ่มสูงอายุ
ปัญหาโรคติดต่อ เช่น ไข้เลือดออก
ติดเชื้อ HIV /TB มากขึน
โรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์
ระดับโลก
ด้านสิ่งแวดล้อม
ไฟป่า เกิดมลพิษฝุ่นควันทางอากาศ และไม่มีที่อยู่ของสัตว์ป่า
ปริมาณขยะเพิ่มขึ้น
ระดับมลพิษทางสภาวะแวดล้อม
ภาวะโลกร้อน
สถานที่พักที่อาศัยอยู่ไม่เอื้ออำนวย ไม่เหมาะสม
climate change
ด้านสาธารณสุข/การแพทย์
โรค NCDs
พฤติกรรมความเสี่ยงของมนุษย์
เชื้อดื้อยา
ยังคิดค้นยารักษาไม่ได้
บริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิทีไม่ได้มาตรฐาน
ขาดแคลนอุปกรณ์ในการแพทย์
แนวโน้มสุขภาพ
ด้านสิ่งแวดล้อม
สถานที่อาศัยไม่เอื้ออำนวย
ด้านสาธารณสุข/การแพทย์
จำนวนผู้ป่วยโรคทางจิตเวชเพิ่มขึ้น
ประชาชนได้รับการรักษาไม่ทันท่วงที เนื่องจากบุลกรทางการแพทย์ลดลง
การติดเชื้อโรคได้มากขึ้น
ขาดกำลังของบุคลากรทางการแพทย์
การแพร่ระบาดโรคติดต่ออุบัติใหม่จากต่างประเทศต้องมีการเตรียมความพร้อมตลอดเวลา
ทำให้มีผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจเพิ่มมากขึ้น
อัตรการเกิดลดลง
คนเข้าถึงระบบสุขภาพลดลง
ปัญหาการยากจนทำให้การทํางานระบบสุขภาพลดลง
เจ็บป่วยด้วยโรคสุขภาพจิตมากขึ้น
มีความรู้และวิธีป้องกันโรคอุบัติใหม่ลดลง เนื่องจากสื่่อต่างๆให้ความรู้ไม่เพียงพอ
ด้านบุคคล
ขาดการออกกำลังกายจากการที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้าและเข้ามาอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตมากขึ้น
การปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ลดลง
การบริโภคอาหารไม่เหมาะสมส่งผลให้BMIเพิ่มขึึ้น
เพิ่มโอกาสการเป็นโรคเรือรังอื่นๆ
ครอบครัวแตกแยก
เกิดความรุนแรงในครอบครัว
เป็นหนีสิ้นมากขึ้น
การเล่นพนันออนไลน์
การใช้สื่อโซเซียลไม่เหมาะสม
เป็น ซึมเศร้า โรคจิตเภท วิตกกังวล มากขึ้น
ว่างงาน ไม่มีค่าใช้จ่ายในการรักษา
ผู้สูงอายุมากขึ้น ทำให้เกิดปัญหาการขาดคนดูแล
มีปัญหาการพึ่งพิง
ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง
ไม่มีความรู้ในการดูแลตนเอง
ด้านเศรษฐกิจ
ขาดแคลนแรงงาน
ด้านการศึกษา
คุณภาพการศึกษาไทยลดลง
เด็กไทยเรียนไม่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น
[สถานการณ์เด่น] สถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคCovid19
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ด้านบุคคล
ภูมิต้านทานของร่างกาย
การรับประทานอาหาร
พฤติกรรมการดูแลตนเองทีไม่เหมาะสม
ไม่ติดตามข่าว
การรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ประชาชนคิดว่าโรคนี้ไกลตัว
คนขาดความตระหนักในการป้องกันโรคลดลง
ด้านการบริหาร
ขาดความพร้อมในการรับมือ
การคมนาคม ขนส่ง
อุปกรณ์ป้องกันแจกจ่ายไม่ทั่วถึง
ขาดอุปกรณ์ในการป้องกันตนเอง เช่น ขาดแมส และ แอลกอฮอล์เจลล้างมือ
การให้ความร่วมมือระหว่างประชาชนและรัฐ
การทํางานของผู้บริหารประเทศ
การวางแผนการทำงานของภาครัฐไม่ครอบคลุม
ด้านสิ่งแวดล้อม
สภาพภูมิอากาศ
ด้านสาธารณสุข/การแพทย์
ความพร้อมของบุคลากรการแพทย์ในการรับมือสถานการณ์
การปกปิดข้อมูลของผู้เข้ารับบริการ
ขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์
ขาดแคลนอุปกรณ์ทางการแพทย์