Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อนามัยโรงเรียน - Coggle Diagram
อนามัยโรงเรียน
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในการบริการอนามัยโรงเรียน
1.บทบาทพยาบาลด้านการส่งเสริมสุขภาพ
การให้ความรู้แก่ครูและนักเรียน
การตรวจสุขภาพนักเรียน
การลงบันทึกบัตรสุขภาพ
2.บทบาทพยาบาลด้านการป้องกันโรค
การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
3.บทบาทพยาบาลด้านการรักษาพยาบาลนักเรียนที่เจ็บป่วยถ้าพบว่านักเรียนมีการเจ็บป่วย
ให้การรักษาแก่นักเรียนที่เจ็บป่วย
ถ้ารักษาไม่ได้จะทำการส่งต่อเด็กไปรับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป
4.บทบาทพยาบาลด้านการฟื้นฟูสภาพนักเรียน
มีหน้าที่ดูแลฟื้นฟูสภาพนักเรียนหลังเจ็บป่วยให้มีสุขภาพดีดังเดิม
แนวคิดและหลักการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
แนวคิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
นำข้อมูลสุขภาพมาประยุกต์ใช้
สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและคนอื่นได้
ตัดสินใจและตวบคุมสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
กระบวนการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
การวางแผนดำเนินงาน
การตรวจสอบ
การปฎิบัติงาน
การปรับปรุงแก้ไข
องค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
1.มีนโยบายของโรงเรียน
2.มีการบริหารจัดการในโรงเรียน
3.มีโครงการร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
4.มีการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
5.มีอนามัยบริการโรงเรียน
6.มีสุขศึกษาในโรงเรียน
7.มีโภชนาการและสุขาภิบาล อาาหาร กีฬา และนันทนาการ
8.มีการออกกำลังกายกีฬาและนันทนาการ
9.มีการให้คำปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม
10.มีการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
แนวคิดและหลักการอนามัยโรงเรียน
หลักการให้บริการอนามัยโรงเรียน โดยทั่วไปจะต้องดำเนินการ 4 ด้าน
การจัดบริการสุขภาพในโรงเรียน
1.การตรวจสุขภาพนักเรียน
วิธีการตรวจ
1.ให้นักเรียนทุกคนพับแขนเสื้อ
2.ปลดกระดุมเม็ดบนสุดที่หน้าอกออก 1 เม็ด
3.ถอดรองเท้าและถุงเท้า
4.สาธิตท่าทาง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
5.ให้นักเรียนลองหัดทำโดยมีทั้งหมด 10 ท่า
ท่าที่ 1 ยื่นมือไปข้างหน้าให้สุดแขนทั้งสองข้าง คว่ำมือกางนิ้วทุกนิ้ว
ท่าที่ 2 เป็นท่าต่อเนื่องจากที่ที่ 1 คือ พลิกมือ หงายมือ
ท่าที่ 3 งอแขนพับข้อศอก ใช้นิ้วแตะเปลือกตาด้านล่างเบา ๆ ดึงเปลือกตาด้านล่างพร้อมกับเหลือกตาขึ้นและลง แล้วจึงกรอกตาไปด้านขวาและซ้าย
ท่าที่ 4 ใช้มือทั้งสองข้าง ดึงคอเสื้อออกให้กว้าง ภายหลังที่ปลดกระดุมหน้าอกเสื้อ แล้วหมุนตัวซ้ายและขวาเล็กน้อยเพื่อจะได้เห็นรอบ ๆ บริเวณคอ ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
ท่าที่ 5 สำหรับนักเรียนหญิง ใช้มือขวาเปิดผมไปทัดไว้ที่ด้านหลังหูขวา หันหน้าไปทางซ้ายส่วนนักเรียนชายหันหน้าไปทางซ้ายเท่านั้น
ท่าที่ 6 ในท่าเดียวกันนักเรียนหญิง ใช้มือซ้ายเปิดผมไปทัดไว้ด้านหลังหูซ้าย หันหน้าไปทางขวา ส่วนนักเรียนชายให้หันหน้าไปทางขวาเท่านั้น
ท่าที่ 7 ให้กัดฟันและยิ้มกว้าง ให้เห็นเหงือกเหนือฟันบน และเห็นฟันล่างให้เต็มที่
ท่าที่ 8 ให้อ้าปากกว้างแลบลิ้นยาว พร้อมทั้งร้อง “อา” ให้ศีรษะเอนไปข้างหลังเล็กน้อย
ท่าที่ 10 นักเรียนหญิง ชาย อยู่ในท่าที่ 9 ให้กลับหลังหัน สังเกตด้านหลังบ้างแล้วให้เดินไปข้างหน้าประมาณ 4-5 ก้าว แล้วเดินกลับหันเข้าหาผู้ตรวจ
ท่าที่ 9 สำหรับนักเรียนหญิง ให้แยกเท้าทั้งสองข้างห่างกัน 1 ฟุต ใช้มือทั้ง 2 ข้างจับกระโปรงดึงขึ้นเหนือเข่าทั้งสองข้าง ส่วนนักเรียนชายเพียงแยกเท้าทั้งสองข้างให้ห่างกัน 1 ฟุตเช่นกัน
การตรวจวัดสายตา
อุปกรณ์
แผ่นวัดสายตา
เทปวัดระยะทาง
กระดาษแข็งตัดรูปตัว E
ไม้ปิดตา/กระดาษปิดตา
ไม้ชี้
แว่นรูเข็ม
การเตรียมสถานที่
สถานที่มีความยาวไม่น้อยกว่า6m
มีพื้นที่และแผ่นฝาที่เรียบทึบ
มีแสงสว่างในบริเวณพื้นที่เพียงพอ
การบันทึกผล
ความสามารถในการมองเห็น (V.A.) เป็นเศษส่วน
เศษ=ระยะทางที่นร.ยืน
ส่วน=ระยะตัวอักษรที่อ่านได้บนแผ่นวัดสายตา
กรณีนร.ยืนที่ระยะ6m มองเห็นบรรทัดบนสุดได้บรรทัดเดียว ให้บันทึกผลว่า 6/60
กรณีนร.ยืนที่ระยะ6m มองไม่เห็นบรรทัดบนสุดให้ย้ายมายืนส้นเท้าชิดที่ระยะ5m แล้วอ่านเฉพาะบรรทัดบนสุดเท่านั้น ถ้ามองเห็นบันทึกผลว่า 5/60
วิธีวัดสายตา
1.นร.ยืนห่างจากแผ่นวัด6m
2.วัดสายตาทีละข้าง โดยใช้มือข้างนึงปิดตาข้างที่ไม่ได้วัด และอีกข้างถือกระดาษตัว E ขณะอ่านให้หมุนตัว E ไปในทิศทางเดียวกับตัว E ที่ผู้ตรวจชี้บนแผ่น E-chart
3.อ่านตั้งแต่บรรทัดบนสุดลงมาจนถึงบรรทัดสุดท้ายที่สามารถอ่านได้เกินครึ่งของบรรทัดนั้น ถ้าอ่านได้แถวที่7 ระดับสายตาคือ 6/6
ในกรณีที่เด็กสวมแว่นตาให้ถอดแว่นวัดก่อน 1 ครั้ง แล้วบันทึกผลในช่องว่า"วัดสายตาไม่สวมแว่น" ต่อไปจึงสวมแว่นวัดสายตาอีก 1 ครั้ง แล้วบันทึกว่า"วัดสายตาสวมแว่น"
4.สลับมาวัดสายตาอีกข้าง โดยทำซ้าวิธีเดียวกัน
5.นร.ที่มองเห็นปกติ ค่า V.A.=6/6
6.นร.ที่มองเห็นผิดปกติ ค่า V.A.จะต่ำกว่า 6/6 ได้แก่ 6/9,6/12,6/18,6/24,6/36,6/60,3/60,2/60,1/60
7.ค่า V.A.ที่ผิดปกติต้องมองผ่านแว่นรูเข็ม จะได้ค่า V.A. with Pin Hole
การทดสอบการได้ยิน
ใช้นิ้วถูกันข้างหูว่าได้ยินหรือไม่
2.การให้ภูมิคุ้มกันโรค
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
3.การจัดบริการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
การป้องกันและควบคุมโรคในโรงเรียน
จุดมุ่งหมาย
ป้องกันโรคติดต่อ
ควบคุมการแพร่กระจาย
ให้ความรู้
ตัวอย่างโรคในโรงเรียน
อีสุกอีใส
มือเท้าปาก
การจัดสุขศึกษาในโรงเรียน
จุดเน้น
ประถมต้นเน้นปฏิบัติ
ประถมปลายเน้นความรู้/ทัศนคตติ
มัธยมเน้นทัศนคติ/ความรู้ วิธีการอภิปรายแลกเปลี่ยนต้นแบบ
หมายถึง การที่โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพให้สอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ตู้ยา
ควรเป็นตู้ไม้ 4 ชั้น
1.ชั้นบน ยารับประทาน
2.ชั้นกลาง วางเครื่องมือปัจจุนพยาบาล
3.ชั้นล่าง ยาใช้ภายนอก
4.ชั้นล่างสุด เป็นตู้ทึบไว้เก็บวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ
ห้องเรียน
มีแสงเพียงพอเท่ากับ 30 ฟุตแรงเทียน
เสียงดังไม่เกิน 30-40 เดซิเบล
โต๊ะเรียน
แถวหน้าสุดห่างกระดานอย่างน้อย2m
แถวหลังสุดไม่ควรห่างจากกระดานเกิน9m
ทางเดินระหว่างแถวของโต๊ะเรียนไม่น้อยกว่า45cm
แถวริมสุดห่างจากผนังห้องไม่น้อยกว่า60cm
ส้วม
ที่ล้างมือ
ชาย-หญิง=1/50
ระดับประถม
หญิง(ส้วม)=1/30
ชาย(ส้วม)=1/60
ชาย(ที่ปัสสาวะ)=1/30
ระดับมัธยม
หญิง(ส้วม)=1/50
ชาย(ส้วม)=1/90
ชาย(ที่ปัสสาวะ)=1/30
ห้องพยาบาล
ควรอยู่ชั้นล่างของอาคารเรียน
ความยาวห้องไม่น้อยกว่า6m
ห้องสะอาดและแสงสว่างเพียงพอ
มีพยาบาลหรือครูเวรประจำ
จำนวนเตียงที่เหมาะสม
นร.1500คน ควรมี4เตียง
นร.500-1000คน ควรมี2เตียง
นร.ไม่เกิน500คน ควรมี1เตียง
หมายถึง การจัดโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะให้เอื้อต่อการมีสุขภาวะ
การสร้างสัมพันธภาพและประสานงานระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
แนวคิดการอนามัยโรงเรียน
ส่งเสริม ฟื้นฟู ป้องกันสุขภาพเด็กนักเรียน โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมโดยใช้กระบวนการพยาบาล