Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติข…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
Respiratory Acidosis
PaCO2 > 45 mmHg
สาเหตุ
การหายใจการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลง หายใจออกลดลง
ได้รับยา ประเภท narcotic, barbiturate เกินขนาด
ก้านสมองได้รับบาดเจ็บ กดศูนย์ควบคุมการหายใจ
อัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ
Respiratory failure, airway obstruction, chest injury
ซึม เวียนศีรษะ หายใจลำบาก หายใจลดลง หมดสติ
รักษา
ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
ให้การรักษาตามโรค
ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต
Hypoventilation
Respiratory Alkalosis
PaCO2 < 35 mmHg
Hyperventilation
สาเหตุ
การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูง วิตกกังวล
เนื้องอกในสมอง สมองได้รับบาดเจ็บ ทำให้ศูนย์ควบคุมการหายใจทำงานผิดปกติ
การตั้งเครื่องช่วยหายใจไม่เหมาะสม
อาการ ซึม สับสน หายใจเร็วลึก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ
การรักษา
ปรับลด Tidal volume , RR
ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษ
ให้ Sedative drug
Metabolic Acidosis
HCO3 < 22 mEq
สาเหตุ
ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้
ท้องร่วงรุนแรง
ไตวาย
เบาหวานที่ขาดอินซูลิน
กรดแลคติกคั่ง จากออกกำลังกายหักโหม
อาการ
ปวดศีรษะ สับสน
อาเจียนท้องเดิน หายใจหอบลึก
เป็นตะคริวที่ท้อง ชาปลายมือ ปลายเท้า
รักษา
ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต
Hemodialysis
Metabolic Alkalosis
HCO3 > 26 mEq
สาเหตุ
อาเจียนรุนแรง, ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน
ได้รับยาขับปัสสาวะมาก
ท้องผูกหลายวัน มีการดูดซึมกลับของ HCO3-
อาการ
สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (K ต่ำ)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลำไส้ไม่ทำงาน
การรักษา ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
Respiratory Failure
แลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนในเลือดแดง
PaO2 ต่ำกว่า 50 mmHg ความดันคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดแดง
PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
Caused
Decreased Fi O2
Hypoventilation
V/Q mismatch
Diffusion defect
Lung Failure
Oxygenation failure
มีภาวะHypoxemia,PaO2≤ 60mmHg
Gas exchange failure
hypoxemia
Pump Failure
Ventilatory failure
มีภาวะHypoxemia,PaO2 ≤ 45 mmHg และ pH<7.35
hypercapnia
Asthma
สารก่อภูมิแพ้ ไรฝุ่น สัตว์เลี้ยง เกสรหญ้า วัชพืช สปอร์เชื้อรา
สารระคายเคือง ได้แก่ น้ำหอม กลิ่น สี ทินเนอร์
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น ความเย็น
วินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สมรรถภาพการทำงานของปอด ก่อนและหลังให้ยาขยายหลอดลม
วัดค่าความผันผวนของ PEF
เป้าหมายของการรักษา
ควบคุมโรคให้สงบ
ป้องกันไม่ให้อาการกำเริบ
ยกระดับสมรรถภาพการทำงานของปอด
ดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงคนปกติ
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
treatment
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
แนะนำวิธีหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
ประเมินระดับความรุนแรงของโรคหืด และประเมินผลการควบคุมโรคหืด
จัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
ดูแลรักษาในขณะมีอาการหอบหืดกำเริบเฉียบพลัน
ดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหืดในกรณีพิเศษ
Chronic Obstructive Pulmonary Disease
เกิดจาก
chronic bronchitis
pulmonary emphysema
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
สภาวะแวดล้อม ได้แก่ ควันสูบบุหรี่ ควันไฟ
การติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง
วินิจฉัย
ประวัติอาการ
ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์ และการหายใจเร็ว
ไอมีเสมหะเรื้อรัง
เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม
เม็ดเลือดแดงเพิ่ม
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
การตรวจวิเคราะห์กาซในเลือดแดง พบค่า PaCO2 สูงขึ้น
เป้าหมายของการรักษา
บรรเทาอาการ
ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
การรักษาระยะที่โรคสงบ
ยา bronchodilator Methylxanthine Corticosteroid
ฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตมาก
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ควรรีบพบแพทย์
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
การหยุดบุหรี่
วินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบของหลอดลม
เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สมดุลของสารอาหารและน้ำ เนื่องจากภาวะการหายใจล้มเหลว
ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยอ่อนเพลีย และหายใจลำบาก
อาจเกิดอาการกลับซ้ำ เนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
Bronchitis
สาเหตุ สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละออง การติดเชื้อ
พยาธิสภาพ
Inflamed Bronchiole > mucus gland enlargement & hyperactivity
Ciliary efficiency <> Mucus secretion
Emphysema
สาเหตุ สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละออง การติดเชื้อ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
พยาธิสรีรวิทยา
Chronic irritation : thick secretion > obstruction > CO2 retention
Destruction of alveolus > surfactant
Bronchoconstriction
Loss of alveolar elasticity > exhalation difficult > hyperinflation
Pneumonia,Pneumonitis
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อไมโคพลาสมา เชื้อรา เชื้อโปรโตซัว
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร
ปัจจัยเสี่ยง
มีโรคประจำตัว
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร
เสี่ยงต่อการสำลักง่าย
ใส่ท่อทางเดินหายใจ เจาะคอ หรือใส่สายให้อาหาร
วินิจฉัย
ไข้สูง (39-40 ºซ.) หน้าแดง ริมฝีปากแดง ลิ้นเป็นฝ้า
หายใจตื้นถี่ ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน
อาจมีอาการตัวเขียวหรือภาวะขาดน้ำ
อาจมีเริมขึ้นที่ริมฝีปาก
เคาะปอด dullness
diminished breath sound
มีเสียง crepitation
พยาธิสภาพ
ระยะที่ 1 ระยะเลือดคั่ง ผนังถุงลมบวม
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม
ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว
รักษา
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ ยาแก้ไอ ยาขับเสมหะ
ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์
ให้อาหารโปรตีนสูง
ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ
โรคแทรกซ้อน
ปอดบวมน้ำ หรือมีโลหิตคั่งในปอด
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตแล้วกระจายไปสู่อวัยวะอื่นๆ
หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
ช็อคจากการติดเชื้อ
ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
เกิดการจับกลุ่มของโลหิตอุดตันในหลอดโลหิต
Pulmonary embolism
ภาวะที่ลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดในปอด
สาเหตุ
Venous stasis
Vessel injury
Hypercoagulability
พยาธิสภาพ
Hypoxic V/Q imbalance
Vasoconstrict
Decrease surfactant
Pulmonary edema
Atelectasis alveolar dead space
Adult Respiratory Distress Syndrome
สาเหตุ
มีประวัติปอดได้รับบาดเจ็บ การสูดสำลัก
การให้สารน้ำและเลือดทดแทน
การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
พิษจากการให้ออกซิเจนเข้มข้นเป็นเวลานาน
ติดเชื้อที่ปอดรุนแรง ภาวะช็อค
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
Hemothorax
สาเหตุ
Penetrating chest injury
Intercostal chest injury
Blunt chest injury
Decelerating injury
วินิจฉัย
อาการ แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ ความดันโลหิตต่ำ หรือ ช็อกจากการเสียเลือด
ตรวจร่างกาย อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไปด้านตรงข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะพบว่าทรวงอกเคาะทึบ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก จะเห็นเงาของเหลวเป็นสีขาวทึบอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกหรือกระบังลม ถ้ามีเลือดมากเงาทึบอาจจะบังปอดข้างนั้นไว้หมด ถ้าใช้เข็มเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอดจะได้เลือดไม่แข็งตัว
Hemothorax
สาเหตุ
Penetrating chest injury
Intercostal chest injury
Blunt chest injury
Decelerating injury
วินิจฉัย
อาการ แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ ความดันโลหิตต่ำ หรือ ช็อกจากการเสียเลือด
ตรวจร่างกาย อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไปด้านตรงข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะพบว่าทรวงอกเคาะทึบ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก เงาของเหลวเป็นสีขาวทึบอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกหรือกระบังลม
Pneumothorax
ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส
ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด จากการช่วยหายใจและจากการที่มีลมรั่วจากปอดที่ได้รับบาดเจ็บผ่านเข้าทางช่องเยื่อหุ้มปอด
ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออกเพื่อให้อากาศระบายออกได้
ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม
Pleural effusion
ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง
ได้ยินเสียง pleural friction rub
อาจพบหลอดลมคอเอียง
เจาะของเหลวออก
รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
นางสาววาริพินทุ์ ตึดสันโดษ รหัสนักศึกษา 612501073