Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่,…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่
ควรรู้
ระยะของการติดเชื้อ
Entry of Pathogen
Colonization
Incubation Period
Prodomal Symptoms
Invasive Period
Decline of Infection
Convalecsence
Transmission
Direct contact
Droplet Transmission
Airborne Transmission
Vector borne Transmission
Indirect contact
Communicable Disease
แบคทีเรีย
ไวรัส
รา
ปรสิต
Tropical Disease (โรคเขตร้อน) โรคที่เฉพาะในเขตร้อน
Emerging Infectious Diseases โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
MALALIA
การติดเชื้อโปรโตซัว P.falciparum P.vivax P.ovale P.malariae P. knowlesi
วินิจฉัย
ประวัติอยู่พื้นที่ระบาด 1 เดือน เคยป่วย 3 เดือน
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ปวดกล้ามเนื้อและข้อ หนาวสั่น เหงื่อออก เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
เหนื่อยหอบ หายใจเร็ว ช็อก ตาเหลืองตัวเหลือง ปัสสาวะออกน้อย/ไม่มีปัสสาวะ ปัสสาวะสีเข้ม ซีดมาก
กรณีมาลาเรียรุนแรง ระดับสติลดลง หรือหมดสติ อ่อนเพลียมาก ชัก
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Thick and Thin Blood Smear
Rapid Diagnostic test
PCR
Paroxysm
Cold stage
อุณหภูมิลดลง
หนาวสั่นปากและตัวสั่น
ซีด ผิวหนังแห้งหยาบ
30-60 นาที
ช่วงการแตกของเม็ดเลือดแดงที่มีเชื้อ
hot stage
ไข้สูง 40-41 องศา
หน้าแดง
คลื่นไส้อาเจียน
1-4 ชั่วโมง
Sweating stage
เหงื่อออกจนชุ่มที่นอน 1-2 ชั่วโมง
P. vivax,P. ovale มีไข้ทุก 48 ชั่วโมง
P. malariae มีไข้ทุก 72 ชั่วโมง
P. Knowlesi มีไข้ทุก 24 ชั่วโมง
ภาวะไข้กลับ (Relapse)
เกิดจากได้รับเชื้อในระยะสปอโรซอยท์
ไข้กลับที่เกิดจากเชื้อที่ยังคงอยู่ในตับ
ไข้กลับที่เกิดจากเชื้อมาลาเรียถูกทำลายไม่หมด
การรักษาเมื่อมีอวัยวะสำคัญล้มเหลว
ชัก ให้ยากันชัก
น้ำตาลในเลือดต่ำ ตรวจ DTX ทุก 6 ชม. รักษาน้ำตาลในเลือดต่ำ ให้ IV fluid ที่มีน้ำตาล เช่น 5-10% dextrose/NSS
ซีด ให้ PRC ถ้า (HCT<24%,Hb < 8g/dl)
น้ำท่วมปอด นอนหัวสูง 45 องศา, ให้ออกซิเจน,ให้ยาขับปัสสาวะและลด/หยุดการให้สารน้ำ อาจใช้ PEEP/CPAP ในผู้ป่วย ARDS
ไตวาย ถ้าขาดน้ำ ให้ IV fluid ถ้า ไตวาย ให้ HD
6.เลือดออกง่าย ประเมินภาวะเลือดออก สาเหตุ และให้ Blood component therapy ตามสาเหตุนั้นๆ
7.ภาวะเลือดเป็นกรด แก้ไขภาวะ Hypovolemia ในผู้ป่วยที่ขาดน้ำ ไม่ให้ NaHCO3 ยกเว้นเลือดเป็นกรดรุนแรง เช่น pH<7.15
8.Shock ดูสาเหตุ ขาดน้ำ ขาดน้ำตาล หรือติดเชื้อแบคทีเรีย และรักษาความดันโลหิตให้ปกติ
Dengue hemorrhagic fever
เชื้อ Dengue Virus เป็น RNA ไวรัส มีอยู่ 4 สายพันธุ์ DEN1 DEN2 DEN3 DEN4
อาการสำคัญ
ระยะไข้
ไข้สูง
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
มักมีหน้าแดง
อาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลำตัว แขน ขา
2-7 วัน
ระยะช็อค
ซึม
เหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจร
เต้นเบาแต่เร็ว
ปวดท้อง โดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา
ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกง่าย
24-48 ชั่วโมง
ระยะพักฟื้น
รู้สึกอยากรับประทานอาหาร
ความดันโลหิตสูงขึ้น
ชีพจรเต้นแรงขึ้นและช้าลง
ผื่นแดงและมีจุดเลือดออกเล็กๆ ตามลำตัว
ปัสสาวะมากขึ้น
อาการติดเชื้อ
Dengue Fever
ไข้ 2-3 วัน อาจเกิดผื่นแบบเชื้อไวรัสธรรมดา
Dengue hemorrhagic fever
เหมือนไข้แดงกิ่ว
มีไข้เฉียบพลัน
ปวดศีรษะ
ปวดตามตัว
หน้าแดง
คลื่นไส้อาเจียน
เจ็บคอ คอแดง
แน่นท้อง
เจ็บชายโครงข้างขวา
ปวดท้อง จากตับโต ไม่ตัวตาเหลือง
มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง
Dengue Shock Syndrome
อาการวินิจฉัย
ร่วมกับชีพจรเบาเร็ว
ความดันโลหิตเปลี่ยน
วินิจฉัย
มีไข้สูง
ช็อค
เลือดข้นขึ้น
เกล็ดเลือดต่ำ
เจ็บชายโครงขวาเนื่องจากตับโต
มีเลือดออกง่าย
การดูแลผู้ป่วย
การดูและระยะไข้สูง
ให้น้ำเกลือประมาณ 24-48 ชั่วโมงเพราะระยะนี้
ให้ติดตามความเข้มข้นของเลือด สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ
ขาดน้ำไม่มากให้น้ำเกลือแร่ชนิดผงละลายน้ำดื่ม
เช็ดตัวลดไข้
ระยะช็อค
V/S
ดูค่า pluse pressure
ประเมินปริมาณของปัสสาวะ
ประเมินภาวะช็อค
งดอาหารดำแดง
สังเกตอาการแน่นอึดอัดท้อง
ประเมินอาการเลือดออก
ระยะพักฟื้น
ประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินภาวะน้ำเกิน
ประเมินปริมาณปัสสาวะ
แนะนำการดูแลตนเอง
Rabies
อาการ
Prodrome ไข้ต่ำ ๆ หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอ คลื่นไส้ อาเจียน
Acute neurologic
Furious rabies
Paralytic rabies
Non-classic
Coma
วินิจฉัย
Direct fluorescent antibody test
RT-PCR
ลักษณะการสัมผัส
การสัมผัสที่ไม่ติดโรค
การสัมผัสที่มีโอกาสติดโรค
การสัมผัสที่มีโอกาสติดโรคสูง
การพยาบาล
การรักษาบาดแผล ใส่ยาฆ่าเชื้อ ปิดก๊อซ ไม่เย็บแผล
การให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
การฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
การฉีดยาป้องกันแก่ผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า
หากมีอาการกลัวน้ำ กลัวลมดูแลรักษาไปตามอาการ
Thyphoid
เกิดจากเชื้อไทฟอยด์ (Salmonella typhi) ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรีย
ติดต่อได้เฉพาะจากคนสู่คนเท่านั้น
ฟักตัวประมาณ 3-21 วัน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ
Widal test
การตรวจหาสารภูมิต้านทาน
CBC
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกในลำไส้
ลำไส้ทะลุ
การดูแล/รักษา
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
การรักษาประคับประคองตามอาการ
การเฝ้าระวังภาวะ Shock
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
การเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ
ให้คำแนะนำ
Tetanus
ติดเชื้อ Bacteria Clostridium tetani
ระยะฟักตัว 7-21 วัน
วินิจฉัย
ตรวจระดับ serum antitoxin titer
พบเชื้อ Clostridium tetani จากแผลได้โดยไม่มีอาการ
spatula test
เกิดจาก Ganglioside ที่ myoneural junction ของกล้ามเนื้อเรียบและ neuronal membrane ในไขสันหลัง เข้าไปใน Axon ของ cell ประสาท ทำให้หลั่งสาร GABA มีผลยับยั้งต่อ Motor neuron ทำให้เกิดการเกร็งของกล้ามเนื้อรุนแรง
Leptospirosis
ติดเชื้อ Leptospira ฟักตัว 2- 20 วัน
อาการสำคัญ
Leptospiremic phase
ปวดศีรษะทันที มักจะปวด บริเวณหน้าผาก หรือหลังตา
ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงมากโดยเฉพาะบริเวณน่อง โคนขา กล้ามเนื้อหลัง
อาการต่างๆอาจอยู่ได้ 4-7 วัน
หากมีอาการรุนแรงจะพบ ตาเหลือง ตัวเหลือง มีอาการคอแข็ง ตวามดันโลหิตต่ำ ต่อมน้ำเหลืองโต ตับ ม้ามโต
ไข้สูง 28-40 องศา เยื่อบุตาแดง
Immune phase
ระยะนี้ถ้าเจาะเลือดจะพบภูมิต่อเชื้อเพิ่ม
หลังจากมีไข้ 1 สัปดาห์ โดยจะเป็นระยะที่ไข้ลง 1-2 วันแล้วกลับมีไข้ขึ้นอีก
มีอาการ ปวดศีรษะ ไข้ต่ำๆ คลื่นไส้อาเจียน
คอแข็งมีการอักเสบของเยื่อหุ้มสมอง
มีเชื้อออกมาในปัสสาวะ
กลุ่มอาการ Weil’s Syndrome
เริ่มมีอาการ 4-9 วัน
เริ่มมีอาการดีซ่าน
มีอาการเหลืองมากจนแทบเป็นสีส้ม
ตับโต ม้ามโตร่วมด้วยอาการทางปอด
อาการแสดง
ภาวะเยื่อบุตาบวมแดง
กดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
มีเลือดออก
ผื่น
อาการเหลือง
วินิจฉัย
ประวัติการสัมผัสโรค
CBC เม็ดเลือดขาวเพิ่ม บางรายเกร็ดเลือดต่ำ
ESR เพิ่ม
ปัสสาวะ พบเม็ดเลือดแดง ไข่ขาว น้ำดี bilirubin ในปัสสาวะ
ตับอักเสบ ค่า SGOT,SGPT สูงขึ้น
ไตค่า Creatinin,BUN จะเพิ่มขึ้น
การเพาะเชื้อจากเลือด
การตรวจทางภูมิคุ้มกัน
การพยาบาล
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาลดไข้
ให้ยาแก้ปวด
ให้ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
ให้สารน้ำและเกลือแร่
เกล็ดต่ำให้เกล็ดเลือดหรือน้ำเหลือง
การแก้ภาวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
การแก้ปัญหาตับวาย ,ไตวาย
Scrub Typhus
ระยะฟักตัวติดเชื้อแบคทีเรียในกลุ่มริกเก็ตเซีย
ระยะฟักตัวประมาณ 6-20 วัน โดยเฉลี่ยประมาณ 10 – 12 วัน
พาหะ ตัวไรอ่อน (Chigger), หมัด(Flea)
อาการและอาการแสดง
Classical type
มีไข้สูง
ปวดศีรษะมาก
ตาแดง
ตรวจพบแผล Eschar
ต่อมน้ำเหลืองโต บางรายมีตับม้ามโต
ปวดเมื่อยตามตัว
Mild type
มีไข้
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยตามตัวบ้าง
อาจพบผื่น ตาแดงเล็กน้อย
อาจมีตับโตบ้าง
Subclinical type
มีไข้เล็กน้อย
มีปวดศีรษะและมึนศีรษะบ้าง
อาการไม่แน่นอน
วินิจฉัย
Serological Test Weil-Felix OX-K ให้ผลบวก titer >= 1:320
การตรวจ Complement-Fixation
การตรวจ IFA
การวินิจฉัยด้วย PCR
ภาวะแทรกซ้อน
โรคตับอักเสบ
Pneumonitis
Myocarditis
Meningoencephalitis
Disseminated Intravascular Coagulation
Multi-Organ Failure
Meliodosis
เป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei ชนิด Gram-negative bacilli
รับเชื้อโดยการสัมผัส ดิน หรือ น้ำที่มีการปนเปื้อนผ่านผิวหนังที่มีแผล หรือ หายใจเอาฝุ่นละออง รับประทานอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อนเชื้อ
ระยะฟักตัว 1-21 วัน โดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 9 วัน
อาการ
Localized Infection
Localized pain or swelling
Fever
Ulceration, Cellulitis
Abscess
Pulmonary Infection
Cough
Chest pain
High fever
Headache
Anorexia
Bloodstream Infection
Fever
Headache
Respiratory distress
Abdominal discomfort
Joint pain
Disorientation
Disseminated Infection
Fever
Weight loss
Stomach or chest pain
Muscle or joint pain
Headache
Seizures
Transmission
Inhalation
Ingestion
Inoculation
Breast milk
Perinatal
Human to Human
การรักษา/การพยาบาล
Surgical drainage
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้สารน้ำตามแผนการรักษา
วัณโรค
เชื้อสาเหตุ
M. tuberculosiso var hominis
M. bovis
M africanum
M. microti
พยาธิสภาพ
รับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย เชื้อโรคจะเข้าที่เนื้อปอด
แล้วแบ่งตัวในเซลล์มาโครฟาจของถุงลม
เมื่อแบ่งตัวแล้วจะส่งไปยังระบบน้ำเหลืองที่ต่อมน้ำเหลืองขั้วปอด (Hilar node)
อาการ
ไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ครั่นเนื้อครั่นตัว เหงื่อออกกลางคืน
ไอแห้งๆไม่มีเสมหะ
ไม่รักษา มีการอักเสบเพิ่มมากขึ้นและมีการทำลายเนื้อเยื่อก็จะทำให้มีเสมหะ
ไอเสมหะมีเลือดออก
วินิจฉัย
ประวัติการสัมผัสโรค
การตรวจเสมหะ ควรจะตรวจเสมหะอย่างน้อย 3 ครั้ง
การ Tuberculin test
การถ่ายรังสีปอด
การตรวจหาเชื้อวัณโรคโดยวิธี RNA and DNA amplification
Hepatitis
สาเหตุ
ตับเสียหน้าที่ของจากภาวะตับอักเสบ
การบาดเจ็บที่ตับ ตับแข็ง ตับวาย และมะเร็งตับ
Viral Hepatitis
Hepatitis A Virus (HAV)
เชื้อไวรัสชนิด RNA. ติดต่อได้ทาง feacal – oral transmission
พบเชื้อในอุจจาระได้ 2 Week ก่อนแสดงอาการ และหลังจากตา ตัวเหลือง 1 Week
ไม่ทำให้เป็น Chronic hepatitis แต่สามารถตรวจพบ antibody มีภูมิต้านทาน
ฟักตัว 15 – 50 วัน ติดต่อช่วงครึ่งหลังระยะฟักตัว ถึง 2–3 วัน หลังจากตัวเหลือง
Hepatitis B Virus (HBV)
เชื้อไวรัสชนิด DNA. ฟักตัว 6 สัปดาห์ -6 เดือน
ติดต่อ เลือด serum
อาการรุนแรง มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน ถ้าเป็นนานกว่า 6 เดือน
Hepatitis Non A Non B (Hepatitis C Virus)
เชื้อที่เป็นสาเหตุไม่ทราบแน่ชัด
อาการไม่รุนแรง ตรวจ serum ไม่พบ Anti HAV และ HBs Ag
มีโอกาสเกิด Chronic Hepatitis และ cirrhosis
ติดต่อทางรับประทานอาหาร ทางเลือด และ serum
พยาธิสภาพ
Prodomal Stage
3 – 7 วัน ก่อนตาเหลือง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดตัว อ่อนเพลีย มีไข้ต่ำๆ
ปวดท้องใต้ชายโครงขวา หรือกดเจ็บ
ระยะท้ายๆ มีปัสสาวะสีโคล่า
Icteric Stage
ตา ตัวเหลือง 1 – 4 สัปดาห์
ปัสสาวะสีเข้ม
อาจพบม้ามและต่อมน้ำเหลืองโต
Recovery Period
3 – 4 เดือน อาการดีขึ้น
หายเป็นปกติ ใช้เวลา 6 สัปดาห์
ถ้าไม่ดีขึ้นอาจมีภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล
ได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ อ่อนเพลีย และถ้ารุนแรงมากจะทำให้เกิดภาวะตับวายได้
สังเกตไข้ ตา ตัวเหลือง อาการแสดงภาวะตับวาย
พักผ่อนเต็มที่ งดการทำกิจกรรมใดๆ
อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง หลีกเลี่ยงไขมันทุกชนิด
บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน
สารน้ำและอิเลคโตรไลท์ทางหลอดเลือดตามแผนการรักษา
ระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะทางเลือด และสิ่งคัดหลั่งต่างๆ
คำแนะนำแก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ
Ebola virus disease
เชื้อประจำถิ่นแถบประเทศ Africa
โรคไวรัสอีโบลาจัดอยู่ในสกุล Ebolavirus
Bundibugyo virus, BDBV
Ebola virus, EBOV
Sudan virus, SUDV
Taï Forest virus, TAFV
Reston virus, RESTV
การสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง
การสัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน
พยาธิวิทยา
หลังติดเชื้อ จะมีการสร้างไกลโคโปรตีนที่หลั่งออกมา
ชื่ออีโบลาไวรัสไกลโคโปรตีนก่อเป็นกลุ่มรวมไตรเมอร์
ซึ่งยึดไวรัสกับเซลล์เนื้อเยื่อบุโพรงตามผิวด้านล่างของหลอดเลือด
sGP ก่อโปรตีน dimer รบกวน neutrophil ไวรัสแพร่กระจายปุ่มน้ำเหลือง ตับ ปอดและม้าม
เกิดการปล่อยไซโทไคน์ ทำให้ความแข็งแรงของหลอดเลือดเสียไป
ส่งเสริมด้วยการสังเคราะห์ GP ซึ่งลดอินทีกริน ทำให้ลิ่มเลือดผิดปกติ
วินิจฉัย PCR , ELISA
ภาวะแทรกซ้อน หลายอวัยวะล้มเหลว,เลือดออกรุนแรง,ดีซ่าน,สับสน,ชัก,โคม่าหมดสติ,ช็อค
รักษา
รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโทรไลต์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
การให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม
ป้องกัน
กำจัดไวรัสอีโบลาได้ด้วยความร้อน 60 °C เป็นเวลา 30-60 นาที หรือต้มเป็นเวลา 5 นาที
แยกผู้ป่วย และการสวมเสื้อผ้าป้องกัน
ไม่สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งที่ติดเชื้อ
อาการ
Headache, Red eyes, Fever, Lack of appelile
internal bleeding, Muscular aches and weakness
Joints aches, Diarrhea, Chest pain, vomiting, rash
โรคไข้หวัดใหญ่ (Human influensa)
สาเหตุ
ติดเชื้อ Influensa virus มี RNA 3 ชนิด ชนิด A,B,C
ระยะฟักตัว 1- 4 วัน หลังรับเชื้อ
A แหล่งเชื้อโรค คือ นกน้ำตามธรรมชาติ
Signs and Symptoms
Fever or feeling feverish/chills
Cough, Sore throat
Runny or stuffy nose
Muscle or body aches
Headaches, Fatigue (very tired)
การกระจายสู่คนทางละอองฝอย
สัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งที่ปนเปื้อน
ภาวะแทรกซ้อน
ระบบทางเดินหายใจ Ottitis media Pneumonia
ระบบหัวใจ Myocarditis,Pericarditis
ระบบประสาท Encephalitis,Guillain Barre Syndrom
การวินิจฉัย
ตรวจสารคัดหลั่งภายใน 72 ชั่วโมง
RT-PCR
การตรวจน้ำเหลืองหา Antibody
ตรวจหาแอนติเจน DIA IFA
การรักษา
ให้ยาต้าน Antiviral teatment
กลุ่ม 1 amantadine และ Rimantadin
กลุ่ม 2 Neuraminidase inhibitor
การพยาบาล
พักผ่อนมากๆ และอยู่ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ลดไข้ผู้ป่วย
การล้างมือ
กินอาหารที่มีประโยชน์และย่อยง่าย ดื่มน้ำมากๆ
ควรพบแพทย์และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
ควรหยุดพักงาน การเรียนจนกว่าจะหายเป็นปกติ
ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก
ปิดจมูก ปาก เวลาไอหรือจาม และบ้วนน้ำลายลงในภาชนะที่ใส่ยาฆ่าเชื้อโรค
Avian influenza
ฟักตัว 1-3 วัน
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย มีน้ำมูก ไอ เจ็บคอ ตาแดง
อาการแทรกซ้อนปอดบวม ระบบหายใจล้มเหลว
วินิจฉัย ไข้ > 38 องศา อาการระบบทางเดินหายใจ ประวัติสัมผัสโรค ตรวจห้องปฏิบัติการ เพาะเชื้อ PCR
ยา Oseltamivir,Zannamivir
ป้องกัน กำจัดแหล่งแพร่ วัคซีน ยาต้าน สวมชุดป้องกัน ระบบคัดกรอง ปิดปากปิดจมูก แยกผู้ป่วย
SARS
เชื้อ coronavirus (SARS-CoV)
ฟักตัว 2-7 วัน
ติดต่อของเหลว น้ำมูก น้ำลาย
ไข้ >38 องศา ปวดเมื่อย ปวดศีรษะมาก หนาวสั่น เจ็บคอ ไอแห้ง ปอดบวมอักเสบ หายใจลำบาก
MERS-CoV
ฟักตัว 2-14 วัน
ไข้สูง >38 องศา ไอ หอบ หายใจ>28 ครั้ง O2 sat ประวัติ< 90% ปอดอักเสบ ไตวาย ระบบหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน อาการระบบทางเดินอาหาร เดินทางประเทศระบาด
ตรวจ X-ray lung CT scan ตรวจหาเชื้อ PCR
รักษา ยาต้านไวรัส ยาปฏิชีวนะ ถ้าปอดอักเสบ รักษาตามอาการ
ป้องกัน เลี่ยงสัมผัส เลี่ยงเข้าใกล้พื้นที่เสี่ยง ใส่หน้ากากอนามัย กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
Covid-19
ฟักตัว 2-14 วัน
แพร่ Droplet
อาการ ไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ไอจาม น้ำมูกหาย หายใจหอบเนื่อย/ลำบาก เจ็บคอ อุจจาระร่วง WBC ต่ำ ไตทำงานลดลง
Severe ปอดบวม อักเสบ น้ำปวมปอด หัวใจหลอดเลือดล้มเหลว ไตวาย
การรักษา
ไม่มีอาการ นอนรพ. ไม่มห้ยาหายเอง
มีอาการ ปอดปกติ ไม่มีภาวะเสี่ยง นอนรพ. ตามอาการ ให้ยา 2 ชนิด 5 วัน
มีอาการ ปอดปกติ มีปัจจัยเสี่ยง ให้ยาอย่างน้อย 2 ชนิด 5 วัน
ปอดปกติ อาการแสดง pneumonia ให้ยาอย่างน้อย 3 ชนิด 10 วัน
จำน่วย พัก 2-7 วัน อาการดีขึ้น รังสีปอดไม่แย่ลง T <37.8 ต่อเนื่อง 48 hr RR <20 O2 sat room air 95%
นางสาววาริพินทุ์ ตึดสันโดษ รหัสนักศึกษา 612501073