Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบทางเดินหาย - Coggle Diagram
ความผิดปกติของระบบทางเดินหาย
ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหายใจ
Diffusion defect or impairment
ความไม่สมดุลของอัตราส่วนการระบายอากาศกับการไหลเวียนเลือด
Ventiration / perfusion mismatch
Alveolar hypoventilation
Shunt effect
การประเมินสภาพ
กาารตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ Arterial Blood Gas
การซักประวัติ
Respiratory Acidosis
ได้รับยาประเภท narcotic, barbiturate เกินขนาด และก้านสมองได้รับบาดเจ็บ กดศูนย์หายใจ
อัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ
การหายใจและแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลง หายใจออกลดลง
respiratory failure, airway obstruction, chest injury
PaCo2 > 45 mmHg // Hypoventilation
ซึม เวียนศีรษะ หายใจลำบาก หายใจลดลง หมดสติ
การรักษา
ขจัดสาเหตุ
ถ้าHypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
ให้ยารักษาตามโรค ให้ยาปฏิชีวนะในโรคปอดอักเสบ ยาขยายหลอดลมและSteroid โรคหอบหืด
ให้โซเดียมไบคาบอเนต
Metabolic Acidosis
เบาหวานที่ขาดอินซูลิน กรดแลกติกคั่งจากการออกกำลังกายหักโหม
ปวดศีรษะ สับสนอาเจียน ท้องเดิน หายใจหอบลึก เป็นตะคริวที่ท้อง ชาปลายมือปลายเท้า
ได้รับอาหารไม่เพียงพอ รับประทานอาหารไม่ได้ ท้องร่วงรุนแรง ไตวาย
การรักษา Metabolic Acidosis
ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต
Hemodialysis
HCO3 < 22 mEq
Respiratory Alkalosis
การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูง วิตกกังวล
ซึม สับสน หายใจลึก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ
การตั้งเครื่องช่วยหายใจไม่เหมาะสม
เนื้องอกในสมอง สมองได้รับบาดเจ็บ ทำให้ศูนย์ควบคุมการหายใจทำงานผิดปกติ
PaCO2 < 35 mmHg // Hyperventilation
การรักษา
ปรับลด Tidal volume , RR
ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในกระดาษ
ให้ Sedative drug
Metabolic Alkalosis
ได้รับยาขับปัสสาวะมาก
ท้องผูกหลายวัน
อาเจียนรุนแรง ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน
สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ) คลื้นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ลำไส้ไม่ทำงาน
HCO3 > 26 mEq
การรักษา
ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
Respiratory Failure
ชนิดของการหายใจล้มเหลว
Oxygenation failure
Ventilatory failure
Pao2 ต่ำกว่า 50 mmHg // PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนในเลือดแดง
Asthma
การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่นๆ เช่นการออกกำลังกาย ความชื้อ ความเย็น
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้น
สารก่อภูมิแพ้
สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID , beta-blocker
การวินิจฉัย
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับมีอาการแพ้อื่น allergic rhinitis, conjunctivitis และ dermatitis
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลมมีผลทำให้หลอดลมของผู้ป่วยมีปฎิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้
การตรวจร่างกาย
ไม่พบความผิดปกติขณะมีอาการ
ขณะมีอาการจะพบอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น หายใจลำบาก หายใจออกยาวกว่าปกติ หรือหอบได้ยินเสียงหวีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวัดค่าความผันผวนของ PEF ในแต่ละช่วงเวลา
การตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด
เป้าหมายของการรักษา
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่างๆจากยารักษาโรคให้น้อยที่สุด
ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค ยกระดับสมรรถภาพการทำงานของปอด
สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้
Asthma medication
Controllers
Relievers
Chronic Obstructive Pulmonary Disease
การวินิจฉัย
ไอมีเสมหะเรื้อรัง เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม เม็ดเลือดแดงเพิ่ม
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์ และการหายใจเร็ว
การตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
พบค่า PaCO2 สูงขึ้น
ประเมินความเสี่ยง mMRC
2 เดินในพื้นราบ เหนื่อย
3 เดินได้น้อยกว่า 100 เมตร
1 เหนื่อย ขึ้นทางชัน
4 เหนื่อยง่ายเวลาทำกิจวัตรประจำวัน
0 ปกติไม่มีเหนื่อย
ปัจจัยเสี่ยง
ลักษณะทางพันธุกรรม
ควันสูบบุหรี่ ควันไฟ การติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง
การวินิจฉัย
ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
การขยายของทรวงอก
มีเสมหะในหลอดลม
มีการทำลายเนื้อปอด
อาจเกิดจาก2โรค
Chronic bronchitis
pulmonary emphysema
แนวทางการรักษาระยะที่โรคสงบ
การฟื้นฟูสมรรถภาพของปอด
ไม่ควรรับประทานคาร์โบไฮเดรตมาก
การรักษาด้วยยา
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจควรรีบพบแพทย์
แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
การหยุดบุหรี่
หลัก 5 A ในการเลิกบุหรี่
assess
assist
advice
arrange
ask
Bronchitis
สาเหตุ
ควัน ฝุ่นละออง
การติดเชื้อ
สูบบุหรี่
Emphysema
การติดเชื้อ
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
สูบบุหรี ควัน ฝุ่นละออง
Pneumonia,Pneumonitis
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย ซึ่งมักพบในผู้ที่หมดสติ หรือ ชัก
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็ก
ผู้ที่ใส่ท่อช่วยหายใจ เจาะคอ ใส่สายให้อาหาร
ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น ไต โรคปอด โรคเบาหวาน
การวินิจฉัย
ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน อาจมีอาการตัวเขียว หรือขาดน้ำ
ไข้สูง หน้าแดง ริมฝีปากแดง ลิ้นเป็นฝ้า หายใจตื้นแต่ถี่ๆ
สาเหตุ
เชื้อไมโครพลาสมา
เชื้อรา ค่อนข้างพบได้น้อย
เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
เชื่อโปรโตซัว
ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าซสำลักเข้าไปในปอด
ปอดอักเสบเฉพาะกลีย มีพยาธิ3 ระยะ
2 ระยะปอดแข็งตัว พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม
3 ระยะฟื้นตัว
1 ระยะเลือดคั่ง ผนังถุงลมบวม
เป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทำให้เนื้อปอดแข็งและมีหนองในถุงลมปอด มักพบในคนที่ไม่แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรคต่ำ
การรักษา
ดูแลบำบัดทางเดินหายใจ
ดูแลความสมดุลน้ำและอิเล็กโตรลัยท์
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้อาหารโปรตีนสูง
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ดูแลทำความสะอาดปาก และช่องฟัน ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน เพียงพอ
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
โรคแทรกซ้อน
ปอดบวมน้ำ
เยื้อหุ้มปอดอักเสบ
มีหนองในโพรงเยื้อหุ้มปอด
มีการติดเชื้อในโลหิตและกระจายไปสู่อวัยวะอื่นๆ
หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
Pulmonary embolism
สาเหตุ
Vessel injury
Hypercoagulability
กรรมพันธุ์
Venous stasis อาจเกิดหลังผ่าตัดที่นอนนานๆ
ความอ้วน การใส่สายสวนในหลอดเลือดดำส่วนกลาง ใส่อุปกรณ์ที่ต้องอยู๋นิ่ง
พยาธิ
Decrease surfactant
Pulmonary edema
Vasoconstict
Atelectasis alveolar dead space
Hypoxic V/Q imbalance
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดในปอด
แนวทางการนินิจฉัย
ตรวจร่างกายพบหายใจเร็ว มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดดำโป่งพอง
ถ้าอุดตันหลอดเลือดขนาดใหญ่ ผู้ป่วยจะตัวเย็น มีความดันโลหิตต่ำ Shock
หายใจหอบเหนื่อย อย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก
ABG พบภาวะ Hypoxemia
D-dimer, Troponin I หรือ T สูงกว่าปกติ
การรักษา
ให้ยาต้านลิ่มเลือด (anticoagulants)
การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออก (Surgical embolectomy)
ให้ยาละลายลิ่มเลือด ได้แก่ Streptokinase rt-PA
Adult respiratory distress syndrome
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของ Pulmonary capillary endothelium
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
สาเหตุ
ความผิดปกติที่ปอด
การบาดเจ็บที่ปอด
จมน้ำ ปอดอักเสบ ติดเชื้อ
Embolism
การสูดดมสารพิษ
ความผิดปกติที่อวัยวะอื่นแล้วส่งผลมาที่ปอด
ได้รับเลือดปริมาณมาก
Pancreatitis
shock จาก sepsis หรือเสียเลือด
เป็นภาวะวิกฤติทางระบบทางเดินหายใจ เกิดจากมีการอักเสบและทำลายเนื้อปอดทั้งสองข้างอย่างฉับพลัน ทำให้เกิดความผิดปกติของการซึมผ่านของหลอดเลือดปอด
Hemothorax
อาการ
ความดันโลหิตต่ำ หรือช็อกจากการเสียเลือด
แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ
สาเหตุ
Intercostal chest injury
Blunt chest injury
Penetrating chest injury
Decelerating injury
เกิดจากของมีคมทิ่มแทงทะลุผ่านเข้าไปในทรวงอกหรือกระดูกซี่โครงที่หักทิ่มแทงทำให้ขัดขวางการขยายตัวของปอด
Pneumothorax
สาเหตุ
มะเร็งปอด
โรคหัวใจ
โรคปอด
โรคตับแข็ง
โรคไต
การดูแลเบื้องต้น
ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม
ถ้าไม่ได้ผลให้ใช้เข็มเจาะระบาย
ชนิด
Spontaneous pneumothorax
Open pneumothorax
Simple pneumothorax
Pneural effusion
การรักษา
รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นเยื้อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
เจาะของเหลวออก
พยาธิสภาพ
น้ำในเยื้อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น ติดเชื้อในปอด เชื้อวัณโรค มะเร็งปอด
น้ำในเยื้อหุ้มปอดที่เป็นเหลวใส มีสาเหตุจากหัวใจล้มเหลว มีสาเหตุจากหัวใจล้มเหลว ไตวาย ตับแข็ง
การระบายทางทรวงอก
ข้อควรระวัง
ความดันลบที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับความสูงของน้ำในหลอดแก้วสูงขึ้นจากระดับน้ำในขวด
ต้องเปลี่ยนขวดเมื่อระดับของเหลวในขวดสูงกว่าปลายหลอดแก้วประมาณ4-5 Cm เพราะจะทำให้เกิดความดันเป็นลบสูงขึ้น
ระดับของของเหลวที่เพิ่มขึ้น จะทำให้เกิด ความดันเป็นลบสูงขึ้นและส่งผลให้การระบายอากาศหรือของเหลวไม่ดี
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีภายหลังการผ่าตัดปอด
เพื่อช่วยให้เยื้อหุ้มปอดทั้งสองชั้นมาบรรจบกัน
เพื่อระบายอากาศและสารเหลว
ป้องกันเมดิแอสตินัมเคลื่อนตัวไปหรือถูกกด
ระบายทรวงอกทำให้สามารถทราบจำนวนสารเหลวหรือลมที่ออกจากผู้ป่วย
ข้อบ่งชี้ในการระบายทรวงอก
Hemothorax
Pneumohemothorax
Pneumothorax
Empyema
Pleural effusion
การต่อท่อระบายทรวงอก
Two-bottle system
เหมาะที่จะใช้กับผู้ป่วยที่มีสารเหลวระบายออกมามากจะสามารถสังเกตลักษณะของสารเหลวที่ระบายออกได้ตรงกับความจริงและยังช่วยไม่ให้สารเหลวและฟองอากาศ สัมผัสกับเครื่องดูด
Three-bottle system
ระบบนี้ใช้ในกรณีที่มีเครื่องดูดที่ไม่สามารถควบคุมแรงดันได้ เราสามารถกำหนดแรงดันได้ตามต้องการ โดยต่อขวดอีก 1 ขวด โดยจะตั้งแรงดันเท่าไรก็ใส่น้ำให้ท่วมแท่งแก้วยาวในขวดที่3 เท่านั้น แล้วนำขวดนี่ไปต่อกับระบบสองขวด
One bottle system
เหมาะสำหรบระบายลม เลือด สารเหลวอื่นๆ ที่ปริมาณออกไม่มาก
การระบายลม หรือสิ่งที่เป็นของเหลว เช่น เลือดหนอง ออกจากจากช่องเยื้อหุ้มปอดทางท่อระบายทรวงอก
การถอดท่อระบายทรวงอก
หลังถอดท่อระบาย ใช้วาสลินก๊อสปิดแผลใน 24 hrแรก ถ้าแผลซึม ให้เปลี่ยนเฉพาะก๊อส ไม่ควรเอาวาสลินก๊อสออก ถ้าจำเป็นต้องเอาออก ให้ผู้ป่วยหายใจออกแล้วกลั้นไว้