Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปเข้ากลุ่มครั้งที่ 2 การทำคลอดและการช่วย เหลือการคลอดปกติ…
สรุปเข้ากลุ่มครั้งที่ 2
การทำคลอดและการช่วย
เหลือการคลอดปกติ
การช่วยเหลือ
การคลอดปกติ
การปูผ้า
ในกรณีที่ไม่เร่งด่วน
จะปูผ้าโดยผืนที่1ปูหน้าท้องจับผ้าที่สัน
ทบบนสุดกับล่างสุดแล้วยกผ้า คลี่ออกจะ
ได้ผ้าครึ่งผืน ปูให้สันทบอยู่ด้านบน แล้ว
สวมปลอกขา (Legging) ทั้งสองข้างสอด
มือเข้าไปใต้ผ้าที่พับตลบกลับด้านโคนขา
สวมปลอกขาด้านใกล้ตัวก่อน ให้จับที่มุม
ผ้าบนสุดและล่างสุด คลี่ผ้าออกจะได้ผ้า 1
ผืน ปูลงไปตรงหน้าขาของผู้คลอดด้านใกล้
ตัว สวมถุงเท้าหรือคลุมผ้าด้านไกลตัว เพื่อ
ป้องกันการปนเปื้อนเสื้อกาวน์ขณะปูผ้ารองก้น
และปูผ้ารองก้นบนผ้ายางรองพับผ้าเข้ามา
1ใน 4 ส่วน หงายมือทั้งสองข้างสอดเข้าใต้ผ้า
ที่พับไว้แล้วสอดเข้าใต้ก้นของผู้คลอด
ในกรณีที่เร่งด่วน
ให้ปูผ้ารองก้นและช่วยคลอดทารกตาม
สถานการณ์ เมื่อปูผ้าเรียบร้อยแล้วกรณี
ไม่ถอดปลายเตียงออก ให้หยิบเครื่องมือ
ที่จำเป็นต้องใช้ช่วยคลอดวางไว้บนปลาย
ของผ้ารองก้นเพื่อสะดวกแก่การหยิบใช้
ได้แก่ กรรไกรตัดฝีเย็บ ยาชาที่เตรียม
แล้วได้แก่ Xylocaine 2% c adrenaline
1:80,000 ผ้า safe perineum และ
ลูกสูบยางแดง
การเชียร์เบ่ง
เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัวให้ผู้คลอด
สูดลมหายใจเข้าทางจมูกและเป่าลมหาย
ใจออกทางปากหนึ่งครั้งเพื่อหายใจล้าง
ปอด จากนั้นสูดลมหายใจเข้าเต็มที่แล้ว
กลั้นลมหายใจไว้ยกศีรษะจนคางจรด
หน้าอก (C-shaped, Up-right position)
เบ่ง 6 – 8 วินาทีไม่ควรเกิน 10 วินาทีต่อ
ครั้ง ให้ผู้คลอดเบ่งช้า หากมดลูกยังหด
รัดตัวแข็งอยู่ เมื่อมดลูกคลายตัวให้หยุดเบ่ง
การตัดฝีเย็บ
คือการใช้กรรไกรตัดเนื้อเยื่อบริเวณ
ปากช่องคลอดให้กว้างขึ้น สะดวก
แก่การเคลื่อนผ่านของทารก
:check:ทารกคลอดอย่างช้าๆ
ฝีเย็บนุ่มยืดขยายได้จนบางฉีกขาดน้อย
:check:ทารกคลอดเร็วหรือคลอดด้วย
เครื่องมือหรือรายที่ฝีเย็บยืดขยาย
(rigid perineum)การฉีกขาดมาก
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอก
โดยใช้คีมคีบสำลีชุบ
น้ำยาฆ่าเชื้อ เช็ดทำความสะอาด
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก โดยมีวิธีการ
เช่นเดียวกับการฟอกทำความสะอาด
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การทำคลอด
การทำคลอดศีรษะ
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำลงใต้ท้าย
ทอยมายันอยู่ใต้ขอบล่างของกระดูก
หัวหน่าว ดูจาก
Parietal eminences ทั้งสองข้าง
ผ่านพ้นปากช่องคลอดมาแล้ว เมื่อมดลูก
คลายตัว ศีรษะทารกจะไม่ผลุบ
กลับเข้าไปในช่องคลอด
เรียกว่า Crowning
วิธีการทำคลอด
ผู้ทำคลอดจะอยู่ด้านขวาของผู้คลอด
ใช้นิ้วมือซ้าย (มือข้างที่ไม่ถนัด) ของ
ผู้ทำคลอดช่วยกดศีรษะทารกบริเวณ
vertex ไว้ ไม่ให้ศีรษะทารกเงย
เร็วเกินไป ส่วนอุ้งมือขวา
(มือข้างที่ถนัด) จับผ้า safe perineum
วางทาบลงบนฝีเย็บ ให้นิ้วหัวแม่มือ
และอีก 4 นิ้ว อยู่คนละด้าน วางผ้า
safe perineumให้ต่ำกว่าขอบฝีเย็บ1-2 ซม.
พร้อมที่จะดันศีรษะทารกเงยขึ้น
ข้อปฏิบัติในการทำคลอดศีรษะทารก
:check:พยายามให้ศีรษะทารกก้มตลอดเวลา
มีการควบคุมศีรษะ และฝีเย็บจนกระทั่ง
บริเวณท้ายทอยได้คลอดผ่านพ้นส่วน
ล่างของรอยต่อกระดูกหัวหน่าว และ
ใต้ท้ายทอยมายันที่รอยต่อของกระดูก
:check:ถ้าสายสะดือพันคอ 1 รอบหลวมๆ
ให้รูดผ่านศีรษะทารกมาข้างหน้าแต่
ถ้ารูดไม่ได้ให้ทำคลอดไหล่และลำตัว
พร้อมทั้งรูดผ่านลำตัวทารกออกมา
:check:ถ้าสายสะดือพันคอแน่นพันอยู่ 2-3 รอบ
ไม่สามารถคลายออกได้ให้ใช้ artery
clamp สายสะดือ แล้วตัดสายสะดือ
การทำคลอดไหล่
การทำคลอดไหล่หน้า
ใช้มือจับขมับโดยเอามือประกบข้างบน
(มือซ้าย) และข้างล่าง (มือขวา) ให้อยู่ระหว่าง
อุ้งมือทั้งสองข้างแล้วค่อยๆ โน้มศีรษะทารกลง
มาข้างล่างตามแนวทิศทางของช่องเชิง
กรานส่วนบน เมื่อเห็นไหล่หน้าจนถึงซอก
รักแร้ทั้งหมด
:
check: ห้ามเอามือดึงรั้งใต้คางทารกอาจทำอันตราย
แก่ประสาทบางส่วนได้
:check: การดึงศีรษะทารกลงมามากๆ เกิดการฉีก
ขาดของกล้ามเนื้อ Sternomastoid และ
มีเลือดขังอยู่ได้ ซึ่งภายหลังจะเกิดแผลเป็น
ทำให้คอเอียง (congenital torticollis)
การทำคลอดไหล่หลัง
โดยจับศีรษะทารกให้อยู่ระหว่างอุ้งมือทั้ง
สองข้างแล้วยกศีรษะทารกขึ้นในทิศทาง
ประมาณ 45 องศากับแนวดิ่ง
:check:
ห้ามสอดนิ้วเข้าไปดึงรักแร้หรือใต้คาง
ทารก เพราะจะทำอันตรายต่อกลุ่ม
ประสาทที่ไปเลี้ยงบริเวณใต้แขน
(Brachial plexus)ทำให้ทารกที่เกิดออก
มามี Erb- Duchenne Paralysis
การทำคลอดลำตัว
การทำคลอด
เมื่อไหล่ทั้งสองข้างคลอดออกมาแล้ว
ลำตัวและแขน ขา ซึ่งเป็นส่วนที่เล็กก็จะ
คลอดตามมาได้ง่าย หากเห็นท้องทารก
ให้หยุด suction อีกครั้ง ดึงตัวทารก
ออกมาช้าๆ เพื่อให้มดลูกปรับขนาดได้
เพราะถ้าดึงออกเร็วเกินไปจะทำให้
ความดันในโพรงมดลูกลดลงเกิด
การเกร็ง (spasm) เกิดภาวะปากมด
ลูกหดรัดตัว (cervical cramp) เมื่อ
ทารกคลอดหมดทั้งตัวแล้ว ควร
กระตุ้นทารก จนกว่าทารกจะร้อง
ข้อควรสังเกตในการทำคลอด
การทำคลอดตั้งแต่ศีรษะทารกเกิด
จนตลอดลำตัว
ไม่ควรให้เร็วจนเกินไป ควรใช้เวลา
ประมาณ 2-3นาที
ประโยชน์ ได้แก่
เพื่อให้มดลูกมีการปรับตัวกับปริมาณ
ที่เล็กลงภายหลังที่ทารกคลอดไปแล้ว
และระหว่างนี้จะได้มีการลอกตัวของรก
เกิดขึ้นพร้อมไปด้วย จนในบางรายอาจ
ลอกตัวหมดพอดีพร้อมกับทารกคลอด
เพื่อปูองกันการตกเลือดหลังคลอด
โดยช่วยให้การลอกตัวของรกเร็วขึ้น
และการหดรัดตัวดีขึ้น
การปฏิบัติเมื่อศีรษะคลอด คือ
Suction และเช็ดตา
การปฏิบัติเมื่อทารกคลอดทั้งตัว คือ
Suction เช็ดตัว กระตุ้นร้อง
การตัดสายสะดือ
:check:การตัดสายสะดือนิยม ตัดภายใน
1 นาที ถ้าตัดช้าทารกจะได้
ความเข้มข้นของเลือดมากขึ้น
แต่ตัวเหลือง การเติมเลือดน้อยลง
และที่ต้องOn phototherapy สูง
กว่าการ Clamp โดยเร็วการชะลอการ
Clamp สายสะดือไป 1 นาที ทารกอาจได้
ฮีโมโกลบินเพิ่ม 2.2 กรัม/ดล
ขณะเดียวกันถ้า Clamp เร็วก็จะลดอัตรา
การทำ Phototherapy ลงได้ร้อยละ 40
การผูกและตัดสายสะดือ
การ clamp สายสะดือ ผู้ทำคลอดต้อง
clamp ผูกสายสะดือ 2 ตำแหน่ง โดยตำแหน่ง
ที่ 1จะ clamp ห่างจากหน้าท้อง
ทารกประมาณ 2 - 3 ซม. โดยต้อง
clampให้แน่น และให้ปลายกรรไกร
นางสาวสุธิตา หมื่นนันทะ เลขที่ 141
รหัสนักศึกษา 612401144 ชั้นปีที่ 2