Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อที่2 การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด เเละการสื่อสารเพื่อการบำบัด,…
หัวข้อที่2 การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด เเละการสื่อสารเพื่อการบำบัด
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลเเละผู้ป่วย
หมายถึง พยาบาลเเละผู็ป่วยได้มีการติดต่อเกี่ยวข้องกันชั่วระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งพยาบาลมีบทบาทในการช่วยเหลือผู้ป่วย
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด เพื่อให้ผู้ป่วย
ตระหนักในตนเอง ยอมรัยตนเอง
รู้จักตนเองดีขัึ้น
มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น พึ่งพาผู้อื่นแค่พอควร
ปรับปรุงการกระทำหน้าที่ในปัจจุบัน
ให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ
ความแตกต่างระหว่างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับสัมพันธภาพเพื่อสังคม
การวางแผน พยาบาลต้องวางแผนก่อนไปพบ แต่เพื่อสังคม จะวางแผนหรือไม่วางก็ได้
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถระบายความรู้สึก เข้าใจปัญหา เรียนรู้การปฎิบัติตนที่เหมาะสม เเต่เพื่อสังคม เน้นให้เกิดความพอใจซึ่งกันและกัน
เนื้อหาในการสนทนา ขึ้นอยู่กับความสำเร็จของเป้าหมายที่ได้วางไว้ ส่วนเพื่อสังคม เน้นตามความพอใจของทั้งสองฝ่าย
ระยะเวลาในการสร้างสัมพันธภาพ
ระยะการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ระยะก่อนสนทนา
2.วางแผนการสนทนาในเเต่ละครั้งเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การสนทนา สถานที่ เวลา เเละให้ข้อมูลต่างๆ กับทีม
3.ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ป่วย
1.เตรียมตัวให้ชัดเจนในด้านเป้าหมายของการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
4.ตรวจสอบสภาพด้านร่างกายเเละจิตใจของตนเองให้มีความพร้อมในด้านเเนวความคิด เเละคความรู้สึกในการเข้าไปสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
ระยะเริ่มต้นของสัมพันธภาพ
เตรียมสถานที่บรรยากาศให้น่าไว้วางใจ
ทักทายด้วยความเป็นมิตร พูดคุยเรื่องทั่วใปก่อน
กำหนดข้อตกลงในการในการสร้างสัมพันธภาพ
สร้างความไว้วางใจ
ค้นหา ระบุปัญหาที่เเท้จริง
ระยะเเก้ไขปัญหา
ค้นหาสาเหตุปัญหา หรือสิ่งที่มากระทบการการดำเนินชีวิต
ประเมินอาการเจ็บป่วยว่ามีผลอย่างไรกับชีวิต
รักษาสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ร่วมกับผู้ป่วยในการวิเคาระห์สาเหตุ
สนับสนุนด้านจิตใจ
ระยะยุติสัมพันธภาพ
เป็นระยะที่ผู้ป่วยได้รับการคลีคลายปัญหาแล้ว พยายามให้ผู้ป่วยพึ่งตนเอง ไม่พึ่งพยาบาลมากเกินไป ทำให้ผู้ป่วยเชื่อมั่นในตนเอง ตัดสินใจเเละปรับตัวได้
การสื่อสารเพื่อการบำบัด
การสื่อสารเป็นเครื่องมีที่สำคัญสำหรับพยาบาลจิตเวช ซึ่ีงใช้ศาสตร์เเลศิลป์เฉพาะบุคคลในการสื่อสาร
องค์ประกอบที่มีผลต่อการสื่อสารเพื่อการบำบัด
สถานที่
ต้องเป็นที่สบายปลอดโปร่ง ไม่อึดอั ไม่มีผู้คนรบกวน
ท่านั่ง
นั่งทำมุม45องศา สามารถมองเห็นคู่สนทนาได้ชัดเจน ไม่ใกล้จนเกินไป
ระยะห่างระหว่างพยาบาลเเละผู้ป่วย
นั่งห่าง4-12ฟุต
เทคนิคในการสื่อสารเพื่อการบำบัด
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
1.เทคนิคการกระตุ้นเเละการส่งเสริมการสนทนา
Using broad openning statement
การใช้คำพูดกว้างๆโดยใช้คำถามง่ายๆ เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเลือกหัวข้อสนทนา
Using general lead
การใช้คำพูดหรือการแสดงออกว่าพยาบาลกำลังฟัง สนใจสิ่งที่ผู้ป่วยพูด
Resteting
เป็นการพูดทวนเนื้อหาหรือใจวามสำคัญในสิ่งที่ผู้ป่วยพูด
Questioning
เป็นการตั้งคำถามทั่วไปเพื่อเปิดประเด็นการสนทนาเเลรวบรวมข้อมูล
2.เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก
Reflecting (content/feel)
กล่าวซ้ำสะท้อนความคิดคสามรู้สึกโดยใช้คำพูดใหม่ที่มีความหมายเเละความรู้สึกเดิม
Accepting/listening
การยอมรับผู็รับบริการเเละสิ่งที่ผู้รับบริการพูด
sharing observation
การบอกในสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็น เกี่ยวกับตัวผู้รับบริการให้ผู้รับบริการทราบ
Using silence
ผู้ป่วยคิดไตร่ตรองเเละพูดความรู้สึกตนเองพยาบาลจะสังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วย
Giving information
การให้ข้อมูลที่เป็นจริง
Presenting reality
เป็นการให้ความจริงแก่ผู้ป่วยในกรณีที่ผู้ปวยมีความคิดหรือการรับรู้ที่ผิดไปจากความเป็นจริง
3.เทคนิคการส่งเสริมให้ผู็ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง
Listening
การฟัง
Offering
การเสนอตนเองเพื่อรับฟังปัญหา
Giving recognition
เเสดงความจำแและระลึกได้
Positive reinforcement
การให้เสริมเเรงทางบวก
4.เทคนิคที่ช่วยพยาบาลกับผู้ป่วยเข้าใจให้ตรงกัน
Clarifying
ขอความกระจ่าง
Validating
ตรวจสอบความรู้สึกของผู้ป่วย
5.เทคนิคช่วยส่งเสริมความเข้าใจในการปรับตัวผู้ป่วย
Exploring
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม
Focusing
มุ่งความสนใจให้อยู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
Encouraging evaluation
การขอให้ผู้ป่วยประเมินประสบการณ์
Encouraging formulation of a plan of action
การสนับสนุนให้ผู้ป่วยวางแผนในอนาคตเป็นการเตียมผู้ผู้ป่วยให้วางแผนเลือกพฤติกรรม
Summarizing
เทคนิคการสรุปเนื้อหาประเด็นการสนทนา
หลักปฎิบัติในการสื่อสาร
4.สื่อสารที่เน้นเรื่องราวที่เปนปัจจุบัน
5.ใช้หลักการสื่อสารที่ให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสระบายความรูสึก
3.ไม่พูดถึงอดีตที่ปวดร้าวเกินไป ขณะที่ผู้ป่วยยังไม่พร้อม
6.ใช้หลักการต่างๆที่ง่ายๆ ชัดเจร ตรงไปตรงมา
2.ไม่เสนอข้อมูลมากเกินไปจนทำให้ผู้ป่วยสับสน เบื่อหน่าย
7.ใหสำคัญกับความสอดคลองระหว่างเนื้อหา คำพูด ท่าทาง สีหนา เเละนำเสียงของพยาบาล
1.ฟังทั้งเนื้อหาเเละเจตนาว่าผู้ป่วยพูดถึงอะไรหมายความว่าอย่างไร
อุปสรรคในการติดต่อสื่สาร
ข้อจำกัดทางอาการของผู้ป่วย
ท่านั่งที่เเสดงถึงความไม่สนใจผู้ป่วย
สิ่งเเวดลอมที่ไม่เหมาะสม
ระยะห่างระหว่างบุคคลมากหรือน้อยเกินไป
การดำเนินการสื่อสาร เเละใชเทคนิคการสื่อสารที่ไม่หมาะสม พยาบาลพูดมากเกิดไป
การใช้เทคนิคไม่เหมาะสม
ปัญหาการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเเละวิธีแก้ไข
ผู้ป่วยไม่มาตามนัด
ตามหาผู้ป่วย นัดหมายใหม่ เตือนผู้ป่วยล่วงหน้าก่อนถึงวันนัด เป็นต้น
ผู้ป่วยลุกออกไปจาการสนทนาอย่างกระทันหัน
ถามผู้ป่วยว่าจะไปไหนคะ แล้วบอกผู้ป่วยว่าจะรอ แล้วนั่งรอจนหมดเวลา
ผู้ป่วยซักไซ้เรื่องส่วนตัวของพยาบาล
ตอบคำถามอย่างสั้นๆ เฉพาะข้อมูลที่เป็นจริงและเป็นข้อมูลทั่วๆไป
นางสาวสหทัยชาวโพงพาง เลขที่36 รุ่น36/2
นางสาวสุวิมล เกิดเรียนเลขที่50 รุ่น36/2