Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 เครื่องมือวิจัย, บทที่ 8 การเก็บรวบรวมข้อมูล, นายภัทรพงศ์…
บทที่ 7 เครื่องมือวิจัย
ความคาดเคลื่อนจากการวัด
ระดับของการวัด
- มาตรานามบัญญัติ (nominal scale) เป็นมาตรการวัดระดับต่ำสุด ข้อมูลมีลักษณะเป็นกลุ่มตามการ
เรียกชื่อหรือจำแนกชนิด ไม่สามารถเปรียบเทียบค่าเป็นปริมาณมากหรือน้อยได้ เช่น เพศ สถานภาพสมรส ชื่อโรค ชื่อโรงพยาบาล เป็นต้น
- มาตรารียงลำดับ (ordinal scale) เป็นมาตรการวัดที่ค่าของข้อมูลที่ได้สามารถนำมาเรียงลำดับได้ แต่ไม่สามารถบอกค่าที่แตกต่างได้ว่าแตกต่างกันเท่าไร และความแตกต่างของ 0 กับ 1 ไม่เท่ากับความแตกต่างของ 1 กับ 2 เช่น ระดับความรู้สึกตัว ความสามารถในการเคลื่อนไหว
- มาตราอันตรภาค (interval scale) เป็นมาตรการวัดที่สูงกว่ามาตราเรียงลำดับ ลักษณะข้อมูลเรียง ลำดับได้และสามารถบอกระยะห่างระหว่างสองจุดของข้อมูลได้ โดยระยะห่างแต่ละหน่วยของการวัดจะมีระยะห่างเท่ากัน แต่หน่วยการวัดในมาตรานี้ไม่มีค่าศูนย์สัมบูรณ์หรือศูนย์แท้(absolute zero point) เช่น ค่าอุณหภูมิ
- มาตราอัตราส่วน (ratio scale) เป็นมาตรการวัดระดับสูงสุด ข้อมูลมีระยะห่างของหน่วยวัด เท่ากัน และมีค่าศูนย์สัมบูรณ์หรือศูนย์แท้ เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง อายุ ข้อมูลในมาตรานี้มักเป็นตัวแปรทางชีวภาพหรือสรีรภาพมากกว่าตัวแปรทางจิตสังคม หรือสังคมศาสตร์
-
ค่าความคลาดเคลื่อนจากการวัด (error score: E) คือ ความแตกต่างระหว่างค่าคะแนนจริงของสิ่งที่วัด
(true score: T) กับค่าสังเกตที่ได้จากการวัด (observe score: O)
-
-
-
-
-