Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4การกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย, อ้างอิง สมปอง เขียวช่วยพรม(2016)…
บทที่4การกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยConceptualization
ใช้ความรู้จากทฤษฎีและงานวจัยได้กรอบแนวคิดทางทฤษฎี
กระบวนการสร้างมโนทัศน์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจิง
ประกอบด้วย
Theoretical framework
แสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงตัวแปร
ครอบคลุมทุกตัวแปร
Diagram
Conceptual framework
คือ
เขียนเฉพาะตัวแปรที่เกียวข้อง
คําบรรยายประกอบภาพ
เขียนแสดงตัวแปรไม่ครบทุกตัว
เขียนอธิบายความสัมพันธ์ สอดคล้อง เกี่ยวข้อง ของตัวแปร
การเขียน,
กําหนดขอบเขตการวิจัย
เปลี่ยนชื่อเรือรัง
ทําให้มีตัวแปรควบคุม
Inclusion criteria
วิธีการเขียน
ทบทวนเอกสาร+วรรณกรรม ครอบคลุม+ทันสมัย
สรุป/ประเด็นความรู้คือ
มีเกณฑ์ช่วยในการอ่าน
ข้อบกพร่อง.
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ใช้ Theoretical concept มาเขียน
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
ทบทวนวรรณกรรมไม่ดีพอ
ลักษณะของข้อมูล
การวิจัยเชิงปริมาณ Quantitative research
การวิจัยแบบคุณภาพ Qualitative research
การวิจัยแบบผสม Mixed methods
แบบคู่ขนาน
แบบตามลําดับก่อน-หลัง
ความสามารถในการควบคุมตัวแปร
การวิจัยเชิงทดลอง Experimental research
การวิจัยเชิงกึงทดลอง Quasi experimental research
การวินิจัยเชิงธรรมชาติ Naturalistic research
ระเบียบวิธีการวิจัย
การวิจัยเชิงบรรยาย Descriptive research
การวิจัยเชิงทดลอง Experimental research
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ Historical research
การวิจัยย้อนรอย Expost facto research
การวิจัยเชิงสํารวจ Survey research
การวิจัยเชิงประเมินผล Evaluative research
ประโยชน์ของการนําผลการวิจัยไปใช้
การวิจัยพืานฐาน/บริสุทธิBasic or pure research
มุ่งสร้างทฤษฎีสูตรกฎผลจากการวิจัยจะเปนสูตรกฎทฤษฎีในการเรียน
การวิจัยประยุกต์Applied research
เพื่อนําผลวิจัยที่เกิดขึนไปใช้ในการทํางานจริง
การวิจัยเชิงปฏิบัติการAction research
มุ่งทําให้เกิดผลที่เป็นพัฒนางาน/แก้ไขข้อบกพร่องของหน่วยงานผลที่ได้มีความเฉพาะเจาะจง
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมมูล
การวิจัยจากเอกสาร Documentary research
การวิจัยแบบสํารวจจากตัวอย่าง Sample survey research
การศึกษาเฉพาะกรณี Case study
การวิจัยแบบสํามะโน Census research
การศึกษาแบบต่อเนื่อง Panel study
การวิจัยจากการสังเกตุ Observation research
การวิจัยเชิงทดลอง Experimental research
แบ่งตาม
วัตถุประสงค์และวิธีเสนอข้อมูล
การวิจัยเชิงวินิจฉัยDiagnostic research
เพื่อค้นหาปัญหาหรือสาเหตุของปัญหา
การวิจัยเชิงคาดคะเนPredictive research
การวิจัยเชิงอรรถธิบายExplanatory research
ไม่มีการทดลองแต่มีการหาปัจจัยความสัมพันธ์
การวิจัยเชิงบรรยายDescriptive research
ไม่มีการทดลองคล้ายกับแบบสํารวจ
การวิจัยขันสํารวจExploratory research
หาคําตอบเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษา
ประเภทของการวิจัย
งานวิจัยอื่นๆ
Systematic review ,meta-analysis,research synthesis ทั้ง 3 แบบไม่เก็บข้อมูลภาคสนาม
R2R (Routine to research)
R/D (Research and development)
PAR (Participatory action research)
อ้างอิง สมปอง เขียวช่วยพรม(2016).การเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
นางสาวฐิติรัตน์ ยะนิล รุ่น36/1 เลขที่32 612001033